Effect of Psychological Characteristics and Study Situations to Research – Base Learning Behavior of the Graduate Students in Behavioral Science Research Institute , Srinakharinwirot University

Authors

  • อังศินันท์ อินทรกำแหง
  • ปิยรัตน์ วงศ์ทองเหลือ

Abstract

คุณลักษณะทางจิตและสถานการณ์ทางการเรียนที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เน้นวิจัยเป็นฐานของบัณฑิตศึกษา สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

The objective of this correlational research was to investigate the relationship between psychological characteristic and study situation related to research – base learning behavior and to predict research – base learning behavior of the graduate students . The samples are 110 graduate students of Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirote University who studying 2 nd  semester in 2011 were selected by stratified random sampling consisted of 60 students in master program and 50 students in doctoral program . The data were analyzed and presented by descriptive statistic, Pearson’ s Product Moment Correlation, Enter Multiple Regression Analysis. The results revealed as follows: 1) The factors : achievement motivation, creative thinking, attitude to research – base learning, self – efficacy to research – base learning, learning management and peer relationship could predict 50.5% of the variance in research – base learning behavior (p<.05), and psychological characteristic and study situation factors were positively related to research – base learning behavior ( r = .478 - .611, p<.01).  Keyword: research – base learning behavior, achievement motivation, creative thinking,  attitude to research – base learning, self – efficacy to research – base learning

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยสำคัญในการทำนายพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เน้นวิจัยเป็นฐาน และ ขนาดความสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะทางจิต และสถานการณ์ทางการเรียนกับ พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เน้นวิจัยเป็นฐานของ นิสิตบัณฑิตศึกษาของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จ านวน 110 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลวิจัยพบว่า 1) ตัวทำนายในกลุ่มลักษณะทางจิต และสถานการณ์ทางการเรียนรวม 6 ตัวแปรได้แก่ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความคิดสร้างสรรค์ เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้แบบวิจัย เป็นฐาน การรับรู้ความสามารถของตนในการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานของอาจารย์ สัมพันธภาพกับเพื่อน สามารถร่วมกันทำนายการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานได้ร้อยละ 50.5 2) ปัจจัยลักษณะทางจิต และสถานการณ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง .478 - .611 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01

คำสำคัญ: การเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความคิดสร้างสรรค์ เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐาน การรับรู้ความสามารถของตน

Author Biography

อังศินันท์ อินทรกำแหง

Thailand Citation Index Centre

Downloads

How to Cite

อินทรกำแหง อ., & วงศ์ทองเหลือ ป. (2013). Effect of Psychological Characteristics and Study Situations to Research – Base Learning Behavior of the Graduate Students in Behavioral Science Research Institute , Srinakharinwirot University. Journal of Behavioral Science for Development, 5(1). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/19401