โครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขันในตลาดอุดมศึกษา: กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช [Market Structure and Competitive Behaviour in Higher Education Market: A Case Study of Nakhon Si Thammarat Province]

Main Article Content

กิตติกร สุนทรานุรักษ์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์โครงสร้างตลาดบริการการศึกษาระดับอุดมศึกษาในแต่ละกลุ่มสาขาวิชาที่เปิดสอนในสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันของหลักสูตรต่าง ๆ ของกลุ่มสาขาวิชาที่ได้รับการคัดเลือกว่ามีการแข่งขันสูงและกระจุกตัวต่ำโดยพิจารณาจากการวิเคราะห์โครงสร้างตลาด ประชากรที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างตลาด คือ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ในกลุ่มสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2558 จำนวน 139 หลักสูตร จำแนกเป็น 10 กลุ่มสาขาวิชา และวัดระดับการกระจุกตัวโดยใช้อัตราการกระจุกตัว (CR) Herfindahl Hirschman Index (HHI) และ Comprehensive Concentration Index (CCI) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มสาขาวิชาส่วนใหญ่น่าจะจัดเป็นตลาดผู้ขายน้อยรายที่ค่อนข้างแข่งขัน มีเพียงสองกลุ่มสาขาวิชาที่อาจเป็นตลาดผู้ขายน้อยรายที่ค่อนข้างผูกขาด กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัญชี และเศรษฐศาสตร์ถูกคัดเลือกสำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขัน เนื่องจากการกำหนดราคาไม่ได้ขึ้นอยู่กับการจัดการของหลักสูตร หากแต่ถูกกำหนดในระดับสถาบัน ดังนั้น แต่ละหลักสูตรจึงให้ความสำคัญกับการแข่งขันที่ไม่ใช่ด้านราคาผ่านทางองค์ประกอบต่าง ๆ ของส่วนประสมการตลาดบริการในการสร้างความแตกต่างให้กับการบริการ อย่างไรก็ตาม แต่ละหลักสูตรมีพฤติกรรมการแข่งขันในแต่ละองค์ประกอบของส่วนประสมทางการตลาดบริการแตกต่างกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

ณัฐธยาน์ นันทิสิงห์. (2556). โครงสร้างตลาดความพึงพอใจและเหตุจูงใจของคณะวิชาที่ได้รับนักศึกษาสาขาดนตรีในสถาบันอุดมศึกษาผลต่อการเสนอนโยบายการจัดการทางการศึกษาในสาขาเฉพาะทางดนตรี. วิทยานิพนธ์ บธ.ม., มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2558, จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000009803.

ปิยาภา วัฒโน. (2546). โครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขันของธุรกิจโรงเรียนนานาชาติในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ ศ.ม., จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พรปรียา วัฒนสุข. (2545). การวิเคราะห์โครงสร้างตลาดของสถาบันเสริมทักษะด้านการพัฒนาความคิดหลักสูตรคณิตไวในเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (เศรษฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2558, จาก https://goo.gl/E1Lvkf.

ภราดร ปรีดาศักดิ์. (2556). หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิทย์ สัตยารักษ์วิทย์. (2542). เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม: เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ศณัชา ธีระชุณห์ และกิตติกร สุนทรานุรักษ์. (2560). รายงานการวิจัยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา: กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์. (2550). การจัดการหลักสูตรมหาบัณฑิตทางการศึกษา ภาคนอกเวลาราชการ โดยการวิเคราะห์โครงสร้างตลาด พฤติกรรมการแข่งขัน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้เรียน. วิทยานิพนธ์ ค.ด., จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2558, จาก https://goo.gl/jQ8qKY.

สุนันทา เชิงชาญวิชญ์. (2544). การศึกษาโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขันของธุรกิจโรงเรียนฝึกอบรมผู้ดูแลเด็กก่อนวัยเรียน. งานวิจัยเฉพาะเรื่อง ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2558, จาก https://goo.gl/SN6BHv.

สุภาพร อาจเดช. (2556). เอกสารประกอบการพิจารณาเรื่อง มหาวิทยาลัยนอกระบบ. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2558, จาก http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/education/download/article/article_20130320190602.pdf.

อรทัย สุทัศน์. (2553). การวิเคราะห์โครงสร้างตลาดของโรงเรียนกวดวิชาในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การจัดการ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2558, จาก thesis.swu.ac.th/swuthesis/Man_Econ/Orathai_S.pdf.

Blythe, J. (2005). Essentials of marketing (3rd ed.). Harlow, England: Financial Times/Prentice Hall.

Booms, B. H., & Bitner, M.J. (1981). Marketing strategies and organisation structures for service firms. In J. Donnelly & W.R. George (Eds.), Marketing of Services. Chicago: American Marketing Association.

Gwin, C. (2001). A guide for industry study and the analysis of firms and competitive strategy. Retrieved September 12, 2015, from http://faculty.babson.edu/gwin/indstudy/.

Herfindahl, O.C. (1950). Concentration in the steel industry. Doctoral dissertation, Ph.D, Columbia University, New York.

Hirschman, A.O. (1945). National power and the structure of foreign trade. Berkeley: University of California Press.

Horvath, J. (1970). Suggestion for a comprehensive measure of concentration. Southern Economic Journal, 36(4), 446–452.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2012). Principles of marketing (14th ed.). Boston: Prentice Hall.

Lipczynski, J., Wilson, J., & Goddard, J. (2005). Industrial organization: Competition, strategy, policy (2nd ed.). Essex, England: Pearson Education.

McConnell, C.R., & Brue, S.L. (2008). Microeconomics: Principles, problems, and policies (17th ed.). New York: McGraw-Hill/Irwin.

Slavin, S.L. (2008). Microeconomics (8th ed.). Boston: McGraw-Hill/Irwin.

Sloman, J., & Wride, A. (2009). Economics (7th ed.). Harlow, England: Financial Times/Prentice Hall.

U.S. Department of Justice & the Federal Trade Commission. (2010). Horizontal merger guidelines. Retrieved January 12, 2016, from https://www.ftc.gov/sites/default/files/attachments/merger-review/100819hmg.pdf

UNESCO Institute for Statistics. (2012). International standard classification of education 2011. Retrieved June 12, 2015, from http://uis.unesco.org/sites/default/files/documents/international-standard-classification-of-education-isced-2011-en.pdf

Worthington, I., Britton, C., & Rees, A. (2005). Economics for business: Blending theory and practice (2nd ed.). Harlow, England: Financial Times/Prentice Hall.

Translated Thai References

Artdet, S. (2013). Autonomous University. Retrieved March 10, 2015, from http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/education/download/article/article_20130320190602.pdf.

Chengchanwit, S. (2001). The study of market structure and competitive behaviour of training schools for preschool child care worker. Master research report, M.Econ. (Business Economics), Thammasat University, Bangkok. Retrieved May 15, 2015, from https://goo.gl/SN6BHv.

Nuntisingh, N. (2013). Market structure satisfaction and motivation of faculty student musicians field in higher education affecting to education policy in music field specifically. Master thesis, M.B.A., Silpakorn University, Nakhonprathom. Retrieved June 12, 2015, from http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000009803.

Preedasak, P. (2013). Principle of microeconomics (4th ed.). Bangkok: Thammasat University Press.

Sattayarakwit, W. (1999). Industrial Economics: Tools for analysis. Bangkok: Scholarly publishing promotion project, National Institute of Development Administration.

Suthus, O. (2010). An analysis of market structure of tutorial school in Patumwan district, Bangkok. Master Project, M. Econ. (Managerial Economics), Srinakharinwirot University, Bangkok. Retrieved May 15, 2015, from thesis.swu.ac.th/swuthesis/Man_Econ/Orathai_S.pdf.

Tachaphahapong, S.S. (2007). The management of master of education special programs : analysis of market structures, competitive behaviours and factors related to students' decision-making. Doctoral dissertation, Ph.D., Chulalongkorn University, Bangkok. Retrieved May 15, 2015, from https://goo.gl/jQ8qKY.

Theerachun, S. & Soontaranurak. (2017). Factors influencing student choice of study in higher education market: A case study of Nakhon Si Thammarat province. Nakhon Si Thammarat: Nakhon Si Thammarat Rajabhat University.

Vadhano, P. (2003). Market structure and competition of international schools in Bangkok and vicinities. Master thesis, M. Econ., Chulalongkorn University, Bangkok.

Vatthanasulk, P. (2002). An analysis of market structure of educational institution on concept development of mental arithmetic course in primary school children. Master thesis, M.S. (Economics), Kasetsart University, Bangkok. Retrieved May 15, 2015, from https://goo.gl/E1Lvkf.