ปัจจัยเชิงเหตุทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Authors

  • เยาวลักษณ์ เตียวิลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (National Institute of Development Administration)
  • ดุจเดือน พันธุมนาวิน รองศาสตราจารย์ ประจำคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ดวงเดือน พันธุมนาวิน ศาสตราจารย์ ประจำคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • งามตา วนินทานนท์ รองศาสตราจารย์ อดีตอาจารย์ประจำสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

rights respecting communications behavior, social media, action tendency using media

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาตัวแปรเชิงเหตุที่สำคัญ ปริมาณ และลำดับตัวทำนายในลักษณะสถานการณ์ จิตลักษณะเดิม และจิตลักษณะตามสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิผ่านสื่อสังคมออนไลน์ โดยศึกษาความสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบ ใช้แนวคิดพื้นฐานจากรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 และ 4 จำนวน 702 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนและกำหนดโควต้า ใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ แบบ Enter และแบบ Stepwise และความแปรปรวนแบบสามทาง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในกลุ่มรวมและใน 12 กลุ่มย่อย ผลวิจัยพบว่า ตัวแปรอิสระ 12 ตัว สามารถทำนายพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิ 1) ในกลุ่มรวมได้ ร้อยละ 64.6 ตัวทำนายสำคัญ คือ ความพร้อมที่จะใช้สื่อสังคมออนไลน์ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ลักษณะมุ่งอนาคตและการควบคุมตน การอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุนและใช้เหตุผล เอกลักษณ์ทางจริยธรรม และกลุ่มนิยม 2) ทำนายในกลุ่มย่อยต่าง ๆ ได้ ระหว่าง ร้อยละ 58.1 ถึง ร้อยละ 69.7 โดยสามารถทำนายได้สูงสุด ร้อยละ 71.9 ในกลุ่มนักศึกษาสายการเรียนวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ นักศึกษาที่มีพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิผ่านสื่อสังคมออนไลน์น้อย พบในกลุ่มนักศึกษาชาย นักศึกษาสายการเรียนศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ และนักศึกษาที่ผลการเรียนน้อย ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นแนวทางการวิจัยที่สำคัญและการพัฒนา เพื่อเสริมสร้างนักศึกษาให้มีพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในทิศทางที่เหมาะสม

References

กนกพร หมู่พยัคฆ์, จรินทิพย์ อุดมพันธุรัก, ชลียา กัญพัฒนพร, ชัญญา แสงจันทร์, และพวงเพชร เกษรสมุทร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล. Journal of Nursing Science, 33(1), 55-65.
กมลวรรณ คารมปราชญ์ คล้ายแก้ว. (2557). ปัจจัยทางด้านสถานการณ์ในครอบครัว สถาบันการศึกษา และจิต ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจริยธรรมในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรี. วารสารพฤติกรรม ศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 6(1), 159-175.
กฤตติพัฒน์ ชื่นพิทยาวุฒิ. (2558). อิทธิพลของปัจจัยทางจิตและสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการจัดการความเสี่ยง ในการเผชิญอุทกภัยผ่านทางทุนพลังใจทางบวก และการเติบโตทางสังคมจิตใจของครูในจังหวัดปริมณฑล. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการวิจัย พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
จิตติพร ไวโรจน์วิทยาการ. (2551). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนที่ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (ภาคนิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สาขาพัฒนาสังคม.
ดวงกมล ทรัพย์พิทยากร. (2547). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี. (ภาคนิพนธ์มหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะพัฒนาสังคม. สาขา พัฒนาสังคม.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน งามตา วนินทานนท์ และคณะ. (2536). ลักษณะทางจิตและพฤติกรรมของนักเรียนวัยรุ่นที่ อยู่ในสภาวะเสี่ยงในครอบครัวและทางป้องกัน. รายงานการวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2547ข). หัวหน้าจะพัฒนาจิตลักษณะ ด้านมุ่งอนาคตและควบคุมตนแก่ลูกน้องได้อย่างไร. บทความประกอบการบรรยายในการสัมมนา เรื่อง “ผลิตผลวิจัยระบบพฤติกรรมไทย เร่งไขปัญหา ร่วม พัฒนาเยาวชน”. กรุงเทพ ฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อ การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย.
ดิณห์ ศุภสมุทร และ ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2559). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางด้านจิตลักษณะและ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริการบนเครื่องบินของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน. วารสาร พฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(1), 42-62.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม (Interactionism model) และแนวทางการ ตั้งสมมติฐาน ในการวิจัยสาขาจิตพฤติกรรมศาสตร์ในประเทศไทย. วารสารพัฒนาสังคม, 9(1), 85–117.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2556). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมเสี่ยงอย่างมีสติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. รายงานการวิจัย. โครงการวิจัยแม่บท : การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย, สำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2557). การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือวัดพหุมิติด้านความพร้อมและศักยภาพของการเป็น นักวิจัยในบุคคลหลายประเภท. ภายใต้แผนงานวิจัย พหุสาเหตุของความพร้อมและศักยภาพของการเป็น นักวิจัยของนักศึกษา และนักวิชาการไทย. รายงานการวิจัย. คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2558). ปัจจัยเชิงเหตุที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมและศักยภาพของการเป็นนักวิจัยของ บุคคลหลายประเภท: ระดับนักศึกษาปริญญาตรี. ภายใต้แผนงานวิจัย พหุสาเหตุของความพร้อมและ ศักยภาพของการเป็นนักวิจัยของนักศึกษา และนักวิชาการไทย. รายงานการวิจัย. คณะพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธันยากร ตุดเกื้อ และมาลี สบายยิ่ง. (2560). รูปแบบ ผลกระทบ และวิธีการจัดการเมื่อถูกรังแกบนโลกไซเบอร์ของ นักศึกษาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 9(2), 220-236.
บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. (2557). พฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์, 32(2), 1-24.
ปณสาส์น ตั้งเจริญ และศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2561). สถานการณ์ทางสังคมและจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม การเป็นพลเมืองใส่ใจสังคมของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารพฤติกรรม ศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 10(1), 146-165.
ปิยะ บูชา อังศินันท์ อินทรกำแหง และจินตนา ตันสุวรรณนนท์. (2561). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ ปัจจัยทางจิตสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 24(1), 83-102.
ไพรินทร์ ขัดธิพงษ์. (2553). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวกับความฉลาดทางการเมืองของนิสิตนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม, สาขาพัฒนาสังคม.
วรทัศน์ วัฒนชีวโนปกรณ์. (2555). ปัจจัยเชิงเหตุทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมใฝ่รู้ใฝ่ดีของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
วสุพล ตรีโสภาสกุล. (2558). การศึกษากระบวนการและปัจจัยเชิงสาเหตุของความยึดมันผูกพันบนเฟซบุ๊ค แฟน เพจในกลุ่มผู้บริโภคคนไทย. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑิต วิทยาลัย, สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
วันวิสา สรีระศาสตร์. (2554). ปัจจัยเชิงสาเหตุด้านสถานการณ์ทางสังคม และการมีภูมิคุ้มกันทางจิตที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และปลอดภัยของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียน ที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์และปลอดภัย. (ปริญญา นิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการวิจัย พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
วาสนา นัยพัฒน์. (2556). ความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมการช่วยลดภาวะโลกร้อนของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 14(3), 170-179.
วิลาวัลย์ คล้ายประยงค์. (2558). ปัจจัยเชิงเหตุด้านจิตลักษณะ สถานการณ์ และการรับรู้ปทัสถานที่เกี่ยวข้องกับ ทัศนคติ และการยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในนักศึกษาปริญญาตรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สาขาการบริหารการพัฒนาสังคม.
ศุภรางค์ อินทุณห์. (2552). ปัจจัยเชิงสาเหตุทางจิตสังคมและปัจจัยเชิงผลด้านการจัดการกับความเครียดของ พฤติกรรมรักการอ่านในนักเรียนวัยรุ่น. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน).
สินีรัตน์ โชติญาณนนท์. (2550). บทบาทของเพศ บทบาททางเพศ และความเป็นปัจเจกนิยม-คติรวมหมู่ต่อการ เสียใจภายหลัง และเป้าหมายการควบคุม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา, สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม.
สุนิดา ศิวปฐมชัย. (2558). บทเรียนจากดราม่าในโลกออนไลน์: ถ่าย-แชร์-แฉ สร้างกระแสสังคม. มหิดลสาร, 80(6), 11.
อนันต์ แย้มเยื้อน. (2557). การวิจัยเพื่อพัฒนาและประเมินเครื่องมือวัดพฤติกรรมการคบเพื่อนอย่างปลอดภัยของ นักศึกษาปริญญาตรีและความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลการวัด. วารสารพัฒนาสังคม, 16(2), 21-46.
อนันต์ แย้มเยื้อน. (2560). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางจิตพอเพียง จิตลักษณะ และสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเยาวชนในชุมชน: การวิเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้าง. วารสารพัฒนาสังคม, 19(1), 23-38.
อรพินทร์ ชูชม, สุภาพร ธนะชานันท์ และทัศนา ทองภักดี. (2554). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของภูมิคุ้มกันทางจิตของ เยาวชน. รายงานวิจัยฉบับที่ 137. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Ajzen, I. (1991). Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes. New Jersey: Prentice-Hall.
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Aquino, K., & Reed, I. I. (2002). The self-importance of moral identity. Journal of personality and social psychology, 83(6), 1423.
Aquino, K., McFerran, B., & Laven, M. (2011). Moral identity and the experience of moral elevation in response to acts of uncommon goodness. Journal of Personality and Social Psychology, 100(4), 703-718.
Bandura, A. (1977). Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change. Psychological Review, 84(2), 191-215.
Bandura, A. (2002). Selective moral disengagement in the exercise of moral agency. Journal of moral education, 31(2), 101-119.
Bhanthumnavin, D. (Duchduen). 2000. Importance of Supervisory Social Support and its Implication for HRD in Thailand. Psychology and Developing Societies. 12(2), 155-166.
Chopik, W. J., O’Brien, E., & Konrath, S. H. (2017). Differences in empathic concern and perspective taking across 63 countries. Journal of Cross-Cultural Psychology, 48(1), 23-38.
Cohen, J. (1977). Statistical power analysis for the behavioral sciences. (rev. ed.). New York: Academic Press.
Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16, 297-334.
D'Agostino, R. B., & Cureton, E. E. (1975). The 27 percent rule revisited. Educational and Psychological Measurement, 35(1), 47-50.
de Leeuw, A., Valois, P., Ajzen, I., & Schmidt, P. (2015). Using the theory of planned behavior to identify key beliefs underlying pro-environmental behavior in high-school students: Implications for educational interventions. Journal of Environmental Psychology, 42, 128-138.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.
Heirman, W., Walrave, M., Vermeulen, A., Ponnet, K., Vandebosch, H., & Hardies, K. (2016). Applying the theory of planned behavior to adolescents’ acceptance of online friendship requests sent by strangers. Telematics and Informatics, 33(4), 1119-1129.
Judge, T. A., Locke, E. A., & Durham, C. C. (1997). The dispositional causes of job satisfaction: A core evaluations approach. Research in Organizational Behavior, 19, 151-188.
Magnusson, D., & Endler, N. S. (1977). Personaliity at the crossroads: Current issues in interactionism psychology. New Jersey: LEA Publishers.
Muthén, L. K.., & Muthén, B. O. (2007). Mplus User's Guide. (Sixth Edition). Los Angeles, CA: Muthén & Muthén.
O’brien, R. M. (2007). A caution regarding rules of thumb for variance inflation factors. Quality & Quantity, 41(5), 673-690.
Rogers, E.M. (1983). Diffusion of Innovations. (3rd edition). The Free Press, New York: USA.
Schutte, N.S., Malouff, J.M., Hall, L.E., Haggerty, D.J., Cooper, J.T., Golden, C.J., Dornheim, L. (1998).Development and validation of a measure of emotional intelligence. Personality and Individual Differences, 25, 167-177.
Vazsonyi, A. T., Ksinan Jiskrova, G., Özdemir, Y., & Bell, M. M. (2017). Bullying and Cyberbullying in Turkish Adolescents: Direct and Indirect Effects of Parenting Processes. Journal of Cross-Cultural Psychology, 48(8), 1153-1171.

Downloads

Published

2018-07-31

How to Cite

เตียวิลัย เ., พันธุมนาวิน ด., พันธุมนาวิน ด., & วนินทานนท์ ง. (2018). ปัจจัยเชิงเหตุทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสื่อสารอย่างเคารพสิทธิผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. The Periodical of Behavioral Science, 24(2), 21–43. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/115191