การวางแผนกลยุทธกับการปฏิบัติงานของศูนยการศึกษาพิเศษ

Main Article Content

เพ็ญนภา พนมแก
นุชนรา รัตนศิระประภา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) การวางแผนกลยุทธของศูนยการศึกษาพิเศษ 2) การปฏิบัติงานของศูนยการศึกษาพิเศษ และ 3) ความสัมพันธระหวางการวางแผนกลยุทธกับการปฏิบัติงานของศูนยการศึกษาพิเศษ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก ศูนยการศึกษาพิเศษ จำนวน 66 ศูนย ผูใหขอมูล ศูนยการศึกษาพิเศษละ 4 คน ประกอบดวย ผูอำนวยการศูนยการศึกษาพิเศษ จำนวน 1 คน รองผูอำนวยการศูนยการศึกษาพิเศษหรือหัวหนากลุมงานหรือผูแทนที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ จำนวน 1 คน และครูผูสอนในศูนยการศึกษาพิเศษ จำนวน 2 คน รวมทั้งสิ้น 264 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถาม การวางแผนกลยุทธตามแนวคิดของสำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ของศูนยการศึกษาพิเศษ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ ความถี่ รอยละ คามัชณิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัย พบวา
1. การวางแผนกลยุทธของศูนยการศึกษาพิเศษ ทั้งในภาพรวมและรายดานอยูในระดับมากโดยเรียงลำดับคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอย ดังนี้ การกำหนดทิศทางของหนวยงาน การศึกษาสถานภาพ ของหนวยงาน และการกำหนดกลยุทธตามลำดับ
2. การปฏิบัติงานของศูนยการศึกษาพิเศษ ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก
ที่สุด 1 ดาน คือ ดานการจัดและสงเสริม สนับสนุนการศึกษาในลักษณะศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพรอมของคนพิการ และอยูในระดับมาก 7 ดาน โดยเรียงลำดับคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอย ดังนี้ ดานการจัดระบบสนับสนุนการจัดการเรียนรวมและประสานงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในจังหวัด ดานการจัดระบบและสงเสริมสนับสนุนการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษาสำหรับคนพิการ ดานภาระหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนดหรือตามที่ไดรับมอบหมาย ดานการพัฒนาและฝกอบรมผูดูแลคนพิการ บุคลากรที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ดานการใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการโดยครอบครัวและชุมชนดวยกระบวนการทางการศึกษา ดานเปนศูนยขอมูลรวมทั้งจัดระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาสำหรับคนพิการ และดานการจัดระบบบริการชวงเชื่อมตอสำหรับคนพิการ ตามลำดับ
3. ความสัมพันธระหวางการวางแผนกลยุทธกับการปฏิบัติงานของศูนยการศึกษาพิเศษมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ซึ่งเปนความสัมพันธกันในทางบวก

 

STRATEGIC PLANNING AND SPECIAL EDUCATION CENTER’S PERFORMANCE 

The objectives of the research were to identify 1) the Special Education Center’s strategic planning 2) the Special Education Center’s performance and 3) the relation between Special Education Center’s strategic and performance. The sample were 66 of Special Education Center in Bureau of Special Education; The 4 respondents in each Special Education Center were a director, a deputy director or a chief of section or representative of the section, and 2 teachers, in total of 264. The instrument was questionnaire about strategic planning which based on Bureau of Policy and Planning and the Special Education Center’s roles and responsibilities. The data were analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product – moment correlation coefficient.

The results of this research were as follow;
1. The Special Education Center’s strategic planning as a whole and in each aspect were at high level. Ranking by arithmetic mean from the highest to the lowest were as follow : specify direction of the sectors, study the status of the sectors, and specify strategic.
2. The Special Education Center’s performance as a whole were at high level. When considering in each aspect found that, there was one aspect that was the highest level, manage, promote and support early intervention center and prepare readiness of persons with disability, and there were 7 aspects were at the high level which were; mainstreaming schools support system and cooperate education for persons with disability in each province aspect, providing Individualized Education Program, assistive technology, instructional media, services, and other facility support system aspect, another burden which specify by acts or was assign by original affiliation aspect, practice and training persons with disability’s caregivers and instructors aspect, persons with disability’s rehabilitation by family and society with education procedure aspect, information center and manage the persons with disability’s information technology aspect, and transition service for persons with disability aspect.
3. The correlation between Special Education Center’s strategic plan and performance had high correlation statistically significant at .01, which showed positive correlation.

Article Details

บท
บทความวิจัย