ความสัมพันธของสภาพวัฒนธรรมโรงเรียนกับการบริหารสถานศึกษาเอกชน เพื่อเตรียมพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน

Main Article Content

มลุลี สุขสุโชคี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธสภาพวัฒนธรรม โรงเรียนกับการบริหารสถานศึกษาเอกชน เพื่อการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ตามขนาดของโรงเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพวัฒนธรรมโรงเรียนและการบริหารสถานศึกษาเอกชนเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนจำแนกตามปจจัยสวนบุคคล และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางสภาพวัฒนธรรม โรงเรียนกับการบริหารสถานศึกษาเอกชนเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน กลุมตัวอยาง คือ ผูบริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถาม มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและมีความนาเชื่อถือได (\alpha) 0.94-0.96 การวิเคราะหขอมูลใชสถิติการวิจัยครั้งนี้ ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวา

1. ระดับสภาพวัฒนธรรมโรงเรียนเพื่อเตรียมพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน อยูในระดับมาก

2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอสภาพวัฒนธรรมโรงเรียนเพื่อเตรียมพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน พบวา ตำแหนง และประสบการณ ที่แตกตางกันมีความคิดเห็นแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

3. ความสัมพันธระหวางสภาพของวัฒนธรรมโรงเรียนกับการบริหารสถานศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคม
อาเซียนทั้ง 5 ดาน มีความสัมพันธกันในระดับปานกลางและเปนไปในทิศทางเดียวกัน

 

THE RELATIONSHIP OF SCHOOL CULTURE ON ADMINISTRATION OF PRIVATE
SCHOOL FOR ASEAN PREPARATION (AEC)

The purposes of the research were to 1) examine the relationship between school culture and private school administration in preparation for AEC, classified by school size, 2) compare the opinions towards school culture and private school administration in preparation for AEC, and 3) examine the school culture and private school administration in preparation for AEC. The research sample was 400 private school administrators and teachers, under the offices of Pathumthani Primary Educational Service Area. The research instrument was questionnaire with validity and reliabilit of 0.94-0.96. The statistic used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard devition, one-way anova, and Pearson’s product correlation coefficient.

The research findings revealed that

1) the school culture in preparation for AEC in all 5 aspects were at the high level

2) the opinions comparison towards school culture when devise by status of the sample found that the position and experience were significant difference at .05 level.

3) the relationship between school culture and private school administration in preparation for AEC in all 5 aspects were at the moderate level and significantly related.


Article Details

บท
บทความวิจัย