ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษากับการมีสวนรวม ของครูในการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1

Main Article Content

ศิริลักษณ ดำพะธิก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ1)เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาและระดับการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2)เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาและการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 จำแนกตามเพศและระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษากับการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กลุมตัวอยางเปนครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามแบบมาตรประมาณคา 5 ระดับ มีคาความเชื่อมั่น 0.88 และวิเคราะหขอมูลโดยใชความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะหขอมูลความสัมพันธโดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ แบบเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวา

1) ระดับความคิดเห็นของครูตอพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวาดานที่มีระดับพฤติกรรมการบริหารที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝกอบรม รองลงมาคือดานภาวะผูนำและดานการติดตอสื่อสาร สวนดานที่มีระดับพฤติกรรมการบริหารที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ ดานการปฏิสัมพันธและดานการตัดสินใจ ระดับการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา ดานที่มีระดับการมีสวนรวมในการบริหารที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือดานการบริหารวิชาการ รองลงมาคือดานบริหารทั่วไปและดานบริหารงบประมาณ สวนดานที่มีระดับการมีสวนรวมในการบริหารที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุดคือดานการบริหารงานบุคคล

2) ครูที่มี เพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาไมแตกตางกัน ครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีและต่ำกวาปริญญาตรีกับครูที่มีระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ครูที่มีเพศตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ มีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ครูที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีและต่ำกวาปริญญาตรีกับครูที่มีระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

3) พฤติกรรมการบริหารของผูบริหารสถานศึกษากับการมีสวนรวมของครูในการบริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ
กันทางบวกอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05

 

THE RELATIONSHIP BETWEEN ADMINISTRATIVE BEHAVIOR OF SCHOOL ADMINISTRATORS AND PARTICIPATION OF TEACHERS IN SCHOOL ADMINISTRATION IN THE OPINION OF TEACHERS IN SCHOOLS UNDER SECONDARY EDUCATION OFFICE AREA 1

The objectives of this research were to:1) study the level of administrative behavior of school administrators and participation of teachers in the opinion of teachers in schools under Secondary Education Office Area1, 2)compare the level of administrative behavior of school administrators and participation of teachers in schools administration in the opinion of teachers in schools under Secondary Education Office Area 1.3)study the relationship between administrative behavior of school administrators and participation of teachers in schools administration in the opinion of teachers in schools under Secondary Education Office Area 1,Classified by gender and education level. The sample were 361 teachers in schools under Secondary Education Office Area 1. The research instrument was a questionnaire of 5 level rating scale with 0.88 reliability. The data were analyzed by frequency, percentage,mean, standard deviation. The hypotheses were tested by t-test , one-way analysis of variance (ANOVA) and Pearson’ Product Moment Correlation Coefficient.

The research results revealed that:

1) the administrative behavior of school administrators in the opinion of teachers as a whole was at high level . Considering by aspects, it was found that the highest administrative behavior aspect was formulation of practice and training standard, next were leadership and communication. The lowest administrative behavior aspects were interaction and decision making. The opinion of teachers concerning participation in school administration as a whole was at high level. Considering by aspects it was found that the highest participation aspect was academic administration, next was general administration and budget administration. The lowest participation aspect was personnel administration.

2) The comparison of level of administrative behavior in school administration between male and female teacher was not significant when compare between the bachelor degree and lower with higher than bachelor degree teachers was different at .05 level of significant. Concerning the comparison of participation of teacher in school administration between male and female teacher was different at .05 level of significance, when compare between bachelor degree and lower with higher than bachelor degree teachers was also different at .05 level of significance.

3) The administrative behavior of school administrators and the participation of teachers in schools administration related positively at .05 level of significance.


Article Details

บท
บทความวิจัย