การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561

Main Article Content

พจนรพี ทองกัญชร
รัฐศิรินทร์ วังกานนท์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 - 2561 จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายไดครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน และเขตที่อยูอาศัย 3) เพื่อสำรวจปญหา และอุปสรรคในการเขามามีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางในการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัย มีประชากรเปนประชาชนในพื้นที่จังหวัดอางทอง จำนวน 400 คน และใชแบบสัมภาษณกับผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง จำนวน 14 คน ใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล ไดแก สถิติ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหคาที (t-test) และการวิเคราะหคาเอฟ (f-test) และทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method)

ผลการวิจัยพบวา
1. ระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 อยูในระดับมาก

2. เมื่อเปรียบเทียบระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 - 2561
จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายไดครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน และเขตที่อยูอาศัย พบวาปจจัยดานเพศแตกตางกันมีระดับการมีสวนรวมในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 ไมแตกตางกัน และปจจัยดานอายุระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายไดครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน และเขตที่อยูอาศัยที่แตกตางกันมีระดับการมีสวนรวมในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 แตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

3. ปญหา และอุปสรรคในการเขามามีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561 อยูในระดับปานกลาง

4. แนวทางในการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดอางทอง พ.ศ. 2558 – 2561
เสนอใหมีการประชาสัมพันธแผนพัฒนาจังหวัดรวมถึงกิจกรรมและโครงการภายในแผนพัฒนาจังหวัดผานสื่อที่ทันสมัย
และเขาใจงายเพื่อใหสอดรับกับกระแสของสื่อในยุคปจจุบัน ควรสงเสริมใหแผนพัฒนาจังหวัดเปนแมแบบในการจัดทำแผนพัฒนาในระดับชุมชนและทองถิ่นใหมากยิ่งขึ้น เพื่อเปนการตอยอดแผนพัฒนาระดับจังหวัดใหเกิดประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความตองการและแกไขปญหาของประชาชนไดอยางทั่วถึง เสนอใหพิ่มระยะเวลาในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้มากขึ้นเพื่อเปนการเพิ่มโอกาสใหประชาชนมีโอกาสไดเขามามีสวนรวมมากขึ้น และเสนอดำเนินการปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการอยางจริงจัง เพื่อใหกิจกรรม/โครงการที่ดำเนินการในพื้นที่สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

 

PUBLIC PARTICIPATION OF ANGTHONG’S PROVINCIAL DEVELOPMENT PLANNING 2558 - 2561 B.E.

The objective of this thesis is to study the community’s participation in the  Angthongprovincial plan B.E. 2558-2561. The study compares public participation in the preparation of the plans, classified by gender, age, education, marital status, family income per month, and residence. The exploration presents a survey of problems and barriers to citizens’ participation in the development plan and proposes ways to promote the participation. A questionnaire and interviews were used as research tools. The questionnaire surveyed 400 people in Angthong, and the interviewsincluded 14 stakeholders of the development plan. Many statistical methods have been used for analysis, such as statistics, frequency, percentage, mean, standard deviation and different pairs were tested with Scheffe's method.

The results show that

1. the level of participation was high,

2. the comparison of levels of participation classified by sex, age, education, marital status, family income per month and a residential area were tested for significant differences, and

3. the level of problems and obstacles was moderate.

4. The recommendations from this study are to promote the participation in the development plan activities and relay information that is easy to understandthrough modern media.Also, government should encourage participation in the development plan in the local community to increase the level of efficiency and meet the citizens’ needs. The duration for
making the development plan should be increased in order to increase the opportunity for people to participate. Lastly, corruption in government should be seriously suppressed in the areato solve the problem of serving public needs effectively.

Article Details

บท
บทความวิจัย