Submissions

This journal is not accepting submissions at this time.

Submission Preparation Checklist

As part of the submission process, authors are required to check off their submission's compliance with all of the following items, and submissions may be returned to authors that do not adhere to these guidelines.
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, RTF, or WordPerfect document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines, which is found in About the Journal.
  • If submitting to a peer-reviewed section of the journal, the instructions in Ensuring a Blind Review have been followed.

Author Guidelines

วารสารขอความร่วมมือในการเตรียมต้นฉบับดังนี้

1. ต้นฉบับจะเขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

2. ต้นฉบับจะต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เขียนให้สั้นที่สุดไม่เกิน 15 บรรทัดหรือ 350 คำ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ รูปแบบการวิจัย สถานที่ทำวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ขนาดตัวอย่าง ช่วงเวลาที่ทำวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ตัวชี้วัดที่สำคัญ ผลการวิจัยและสรุปผลการวิจัย

3. ต้นฉบับต้องพิมพ์บนกระดาษขาว มีความยาวไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 รวมตารางรูปภาพและเอกสารอ้างอิง จัดรูปแบบ 1 คอลัมน์ พร้อมคำสำคัญ (Keywords) อยู่ใต้บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3-5 คำ

4. บทความภาษาไทย ใช้ตัวอักษรแบบ “Angsana UPC” ชื่อบทความใช้ตัวอักษรขนาด 20 ตัวหนา ชื่อหัวข้อและหัวข้อย่อยใช้ตัวอักษรขนาด 18 ตัวหนา ชื่อผู้เขียนและชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา บทคัดย่อ ตัวขนาดอักษร 16 ตัวหนา และเนื้อความต่าง ๆ ใช้ตัวอักษรขนาด 16 ตัวปกติ ส่วนเชิงอรรถ (Footnote) ตัวอักษรขนาด 12 ตัวปกติ บทความภาษาอังกฤษ ใช้ตัวอักษรแบบ “Times New Roman” ชื่อบทความใช้ตัวอักษรขนาด 14 ตัวหน้า ชื่อผู้เขียน บทคัดย่อและเนื้อความต่าง ๆ ใช้ตัวอักษรขนา 11 ตัวปกติ ชื่อหัวข้อและหัวข้อย่อยใช้ตัวอักษรขนาด 12 ตัวหนา

5. บทความวิจัยให้เรียงลำดับตามองค์ประกอบดังนี้

5.1 ชื่อเรื่อง (Title) ทั้งชื่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5.2 ชื่อผู้เขียน (Authors) รวมทั้งที่ปรึกษาหลัก ที่ปรึกษาร่วม ครบทุกคน

5.3 บทคัดย่อ (Abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาวไม่เกิน15 บรรทัดหรือ 350 คำ

5.4 คำสำคัญ (Key Words) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

5.5 เนื้อเรื่อง (Main Body) ประกอบด้วย หัวข้อดังนี้

5.5.1 บทนำ (Introduction) บอกความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐาน (ถ้ามี) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย และอาจรวมการสำรวจเอกสาร (Review of Related Literature)

5.5.2 วิธีดำเนินการวิจัย (Methodology) ให้ระบุวิธีการเก็บข้อมูล ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การดำเนินการวิจัย หรือการทดลอง วิธีวิเคราะห์ข้อมูล

5.5.3 ผลการวิจัย (Results) โดยอาจมีรูปภาพ ตารางและแผนภูมิประกอบเท่าที่จำเป็น

5.5.4 สรุปและอภิปรายผล (Conclusion and Discussion)

5.5.5  ข้อเสนอแนะ (Suggestion)

5.5.5.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

5.5.5.2 ข้อเสนอแนะสำหรับปฏิบัติ

5.5.5.3 ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยต่อไป

5.5.6  เอกสารอ้างอิง ต้องอ้างอิงในระบบ (American Psychological Association: APA) เท่านั้น

6. บทความวิชาการและบทความอื่น ๆ ให้เรียงลำดับตามองค์ประกอบดังนี้

6.1  บทนำ

6.2  เนื้อหา

6.3  บทสรุป

6.4  เอกสารอ้างอิง ต้องอ้างอิงในระบบ (American Psychological Association: APA) เท่านั้น

7.  บทความปริทัศน์ (Review Article) หมายถึง บทความที่มีการทบทวนวรรณกรรมและความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัย หรือแนวโน้มการศึกษา อย่างละเอียด รอบด้าน และครอบคลุม ทั้งนี้ผู้เขียนควรมีส่วนวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ หรือแสดงความเห็นเชิงวิชาการในหัวข้อดังกล่าวด้วย

การเขียนบทความปริทัศน์ให้เรียงลำดับตามองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้

7.1 ชื่อเรื่อง (Title)

7.2 บทคัดย่อ หรือเรื่องย่อ (Summary)

7.3 คำนำ (Introduction)

7.4 เนื้อเรื่อง (Text)

7.4.1 จัดแบ่งโครงสร้างให้ง่ายต่อความเข้าใจ

7.4.2 แยกประเด็น หรือลำดับเหตุการณ์

7.4.3 วิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเปรียบเทียบให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องนั้น ๆ ง่ายขึ้น

7.5  เอกสารอ้างอิง (Reference)

8.  บทวิจารณ์หนังสือ (Book Review) หมายถึง บทความที่เขียนขึ้นเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์หนังสือหรือตำราทางวิชาการเล่มใดเล่มหนึ่งอย่างเป็นวิชาการ บทวิจารณ์ควรประกอบด้วยองค์ประกอบหรือโครงสร้างของหนังสือ เนื้อหาของหนังสือในภาพรวมและเนื้อหาของแต่ละส่วนโดยย่อ ข้อดี ข้อด้อย และ/หรือ ประโยชน์ของหนังสือนั้น

9. ถ้ามีรูปภาพประกอบ กราฟ หรือตาราง ควรเป็นภาพถ่ายขาว – ดำ ที่ชัดเจน คมชัดต้องระบุลำดับและหัวข้อ

10. ส่งต้นฉบับ 3 ชุด พร้อม CD ข้อมูลต้นฉบับไฟล์ word โดยชุดแรกใส่ ชื่อผู้เขียน E-mail และการอ้างอิงชื่อผู้เขียน ต้นฉบับส่วนอีก 2 ชุด ให้ปกปิดชื่อผู้เขียน และข้อมูลของผู้เขียนเพื่อส่งผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review)

บทวิพากษ์

Privacy Statement

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.