Japanese Hidden Heritage in Thailand

Main Article Content

Sakesit Paksee

Abstract

This study is of Japanese hidden Heritage in Thailand. The purpose of the project can be expressed as two related objectives. The first is to investigate and comment on the presence of the Japanese in Thailand in the three broadly defined periods : Ages of Participation, of Imperialism, of  Globalization  and on the heritage that the Japanese presence has left and continues to bequeath in modern Thailand.  The second objective can prove more problematic. It is to ask how diverse and sometimes opposed memories - ideas of heritage-intersect. This can be expressed in another way: whose heritage is it?

The approach to be taken is a combination of fieldwork and documentary research. A range of relevant sites were visited and observed: in Ayutthaya, Kanchanaburi province, Siracha in Chonburi province and various districts in Bangkok. Documentary research mostly covered secondary material. The methodological issue was to bring these two sets of information together.

The study concludes that Japanese heritage in Thailand from the Age of Participation is indeed little more than memories and stories. That from the Age of Imperialism (World War II) is mostly suppressed – to be forgotten, even denied. The heritage of the present era or the Age of Globalization might challenge clear definition: it is the living heritage of the city’s life and diversity.

The story of the Japanese in Thailand raises the question of the ‘forms of heritage’ of one nation (Japan) in the territory of another (Thailand), variously ‘museum’ heritage, ‘denied’ heritage, ‘negative’ heritage and ‘living’ heritage. 

การศึกษาเรื่องมรดกญี่ปุ่นที่ซ่อนเร้นอยู่ในประเทศไทยนี้ มีวัตถุประสงค์ สองประการ ประการแรกคือสืบค้นหาข้อมูลและนำเสนอทัศนะเกี่ยวกับกับเข้ามามีบทบาทในประเทศไทยของญี่ปุ่นในสามยุค ได้แก่ ยุคแห่งการเข้ามาพำนัก ยุคการล่าอาณานิคม และยุคโลกาภิวัตน์ และยังรวมถึงการฝังรากความเป็นญี่ปุ่นไว้ในประเทศไทย วัตถุประสงค์ประการที่สองคือ การพิสูจน์ข้อสงสัยต่างๆ ที่มีความหลายหลายหรือบางครั้งอาจจะขัดแย้งกับความทรงจำเดิม โดยเฉพาะการพิสูจน์ว่าเป็น “มรดกของใคร”

การศึกษาครั้งนี้ได้ลงพื้นที่ศึกษาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และกรุงเทพมหานครประกอบกับการศึกษาเอกสารข้อมูลเพิ่มเติม แล้วนำสิ่งที่ได้จากการศึกษาทั้งสองส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกัน

จากการศึกษาพบว่า ยุคการเข้ามามาพำนักหรือการเข้ามาในช่วงแรกของญี่ปุ่นนั้นแทบจะไม่เหลือร่องรอยความเป็นญี่ปุ่นให้เห็น ในขณะที่ยุคล่าอาณานิคมซึ่งหมายถึงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นกลับเป็นช่วงที่ไม่อาจลืมเลือนไปจากความทรงจำได้ ยุคสุดท้ายยุคแห่งโลกาภิวัตน์เป็นช่วงที่สามารถให้คำนิยามได้ชัดเจนว่าเป็นยุคมรดกที่มีชีวิตกล่าวคือเป็นผลพวงของญี่ปุ่นที่ยังปรากฏให้เห็นอยู่ในสังคมเมืองปัจจุบัน เมือง

เรื่องราวเกี่ยวกับญี่ปุ่นในประเทศไทยนั้นยังถูกนำขึ้นมากำหนดเป็น “รูปแบบของมรดกความทรงจำ” ของประเทศญี่ปุ่นที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ “มรดกที่หลงเหลือให้เห็นเป็นแหล่งเรียนรู้” “มรดกที่ไม่อาจจะยอมรับ”  “มรดกในเชิงลบ” และ “มรดกที่มีชีวิต” 

Article Details

Section
Research Articles