การออกแบบรูปแบบระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียน กับการทำงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย

Main Article Content

สุริยะ พุ่มเฉลิม

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ออกแบบรูปแบบระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการ
การเรียนกับการทำงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย และ (2) ประเมินรูปแบบระบบสารสนเทศ
เพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย การวิจัยนี้
เปน็ การวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยใชก้ ระบวนการรวบรวมความคิดเห็นของผูเ้ชี่ยวชาญดว้ ยเทคนิคเดลฟาย
กลุม่ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวิจัยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 เปน็ ผูเ้ชี่ยวชาญดา้ นการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
การเรียนกับการทำงาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 3 คน ระยะที่ 2 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษา
แบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 17 คน และระยะที่ 3 เป็นผู้เชี่ยวชาญและ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน จำนวน 15 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (2) แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ซึ่งผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับ
การทำงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทยประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบหลัก คือ 1) ผูมี้สว่ นรว่ มเกี่ยวขอ้ ง
กับระบบ 2) ระบบสารสนเทศ และ 3) ขั้นตอนจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญ
มีความเห็นที่สอดคล้องกันสูง และเห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมาก และ (2) การประเมินรูปแบบระบบ
สารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย
พบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่ส่วนเกี่ยวข้องกับระบบเห็นว่ารูปแบบที่สร้างขึ้นมีความถูกต้องเหมาะสม และมีความเป็น
ไปได้ต่อการนำไปใช้

The purposes of this study were: (1) to design information system for Work-integrated Learning
management activities model of private institute of higher education in Thailand, and (2) to evaluate the
information system for Work-integrated Learning management activities model of private institute of
higher education in Thailand. The study used quality and quantitative research. The investigation of
experts’ opinions and the Delphi technique were used for the data collection. The samples used in this
study were divided into 3 phases: The first phases who were specialized in the Work-integrated Learning
and information technology amount 3 person, Second phases who were specialized in the Work-integrated
Learning and information technology amount 17 person. Third phases comprised experts and
stakeholder in information system for Work-integrated Learning management activities in 15 persons by
purposive sampling both. The tools used in this study were: 1) a structured interview guide, 2) a 5-rating
scale questionnaire. Statistics used to analyze data were median, Interquartile Range, mean, and standard
deviation. The results revealed as follows: (1) The information system for Work-integrated Learning
management activities model consists of 3 main components 1) Stakeholder 2) Information and 3)
Work-integrated learning activities, the experts agreed that a high consistent and the model was appropriate
high-level. (2) The results of evaluation the information system for Work-integrated Learning management
activities model of private institute of higher education in Thailand were found by the experts and
stakeholder that the created model was accurate, appropriate and feasible.

Article Details

Section
Research Articles

References

ธีรวดี ถังคบุตร. (2555). การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสำหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิ่งบูรณาการการเรียนรู้ออนไลน์ประชาคมอาเชี่ยน: นโยบายและกระบวนการประจำปี 2555. 7-8 ธันวาคม 2555.

ประทีป นานคงแนบ ปรัชญนันท์ นิลสุข และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2554). รูปแบบการนิเทศฝึกงานแบบผสมสำหรับนักศึกษาช่างอุตสาหกรรมสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารวิทยบริการ. 22(3), 163-177.

ปานเพชร ชินินทร จิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร อัคครัตน์ พูลกระจ่าง วิวัฒน์ คลังวิจิตร วนิดา ฉินนะโสต เทอดเกียรติ สิมปิทีปราการ และวิเชษฐ์ พลายมาศ. (2553). แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน (Work-Integrated Learning :WIL) ในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย. รายงานโครงการวิจัย WiLWorking Group Thailand.

ปานเพชร ชินินทร และวิเชษฐ์ พลายมาศ. (2553). ปัจจัยความสำเร็จของการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานสำหรับอุดมศึกษาไทย.การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงเเสน ครั้งที่ 7. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2557, จาก http://research conference.kps.ku.ac.th/index.html.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). การวิจัยทางการศึกษา:หลักและวิธีการสำหรับนักวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจิตร ศรีสะอ้าน. (2552). การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตด้วยสหกิจศึกษา. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2557, จาก http://www.tace.or.th.

ศศรัณย์ โม้ดา. (2542). การศึกษาสถานภาพปัญหาความต้องการและความคิดเห็นในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสมาคมสหกิจศึกษาไทย. (2553). มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดำเนินงานสหกิจศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสหกิจศึกษาไทย.

Calway, Bruce A. (2005). What has Work-Integrated Learning Learned? – A WIL Philosophy. A Calway Swinburne University of Lilydale Technology.

Rimal, Bhaskar Prasad. Choi, Eunmi and Lumb, Ian. (2009). A taxonomy and Survey of Cloud Computing Systems. 2009 Fifth International Joint Conference on INC, IMS and IDC, 44-51.