เป้าหมายในการติดตามข่าว และการให้ความน่าเชื่อถือข่าว ที่นำเสนอผ่านสื่อต่างๆ ของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

อริสา เหล่าวิชยา

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเป้าหมายในการติดตามข่าว และความน่าเชื่อถือของข่าวที่นำเสนอผ่านสื่อต่างๆ  ของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้กลุ่มตัวอย่าง
 คือ ประชาชนเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุระหว่าง 18-25 ปี อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คนโดยทำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบสะดวก ทำการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)


ผลการวิจัย พบว่า 1) เยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร มีเป้าหมายในการติดตามข่าวผ่านสื่อ คือ เพื่อให้ทันเหตุการณ์มากที่สุด 2) เชื่อถือข่าวที่นำเสนอผ่านสื่อโทรทัศน์มากที่สุด 3) ส่วนปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับเป้าหมายในการติดตามข่าวของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า อายุ รายได้ การพักอาศัย ช่องทางในการเลือกรับข่าวสารที่แตกต่างกัน มีเป้าหมายในการติดตามข่าวสารไม่แตกต่างกัน และ 4) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับความน่าเชื่อถือของข่าว พบว่า  อายุ การพักอาศัย และช่องทางในการเลือกรับข่าวสารที่แตกต่างกันมีความน่าเชื่อถือข่าวผ่านสื่อต่างๆ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ


This survey research aims to study Objective in News Exposure and News Credibility of youth in Bangkok metropolitan area. The sample group in this research was 400 people information from males and females aged between 18 – 25 years old who live in Bangkok. Questionnaires were used to collect data by convenience sampling method. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, sample t-test, one-way analysis of variance (ANOVA).


The findings were as follows: 1) Youths in Bangkok were exposed to news. 2) Youths seek for news to follow up with daily updates. 3) Youths in Bangkok who where different in terms of age, income, and etc. no difference objective in news exposure. And 4) The results also showed youths in Bangkok who where different in terms of age, income, and etc. no difference in news credibility.

Article Details

Section
Research Articles

References

บุษราคัม เอี่ยมอำไพ. (2539). ปัจจัยที่มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารจากสถานีวิทยุ จส.100 และการเป็นสมาชิกชมรม จส.100. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปุณณรัตน์ พิงคานนท์. (2548). การสื่อข่าวและการเขียนข่าวหนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แฟรกฟอร์ก. (2559). งานวิจัยชี้ น่าเป็นห่วงวงการหนังสือพิมพ์ คนเสพข่าวฟรีผ่าน Facebook มากขึ้น. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2559. จาก http://www.flagfrog.com/news-on-facebook/.

มารียา ไชยเศรษฐ์. (2546). ความคาดหวัง การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อรายการที่นี่ประเทศไทย ทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วอยซ์ทีวี. (2554). ทุกคนเป็นสื่อได้ ในยุคนิวมีเดีย. สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2559. จาก http://news.voicetv.co.th/thailand/5396.html

ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. (2557). แนวทางการทำให้เกิดการเสนอข่าวเชิงสืบสวน (Investigative Report) ในสื่อหนังสือพิมพ์. (รายงานวิจัย) สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2559. จาก http://tcijthai.com/tcijthainews/view.php?ids=4083.

สกุลศรี ศรีสารคาม. (2554). สื่อสังคม (Social Media) กับการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสื่อข่าว. (รายงานวิจัย). สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2559. จาก http://cdn.gotoknow.org/assets/media/

files/000/998/025/original_20140218223136.pdf?1392737496.

สำนักข่าวอิศรา. (2559). ผลวิจัยม.หอการค้าฯ ชี้คนอ่านข่าวแชร์มากกว่าอ่านจากสำนักข่าวหลัก. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2560. จาก http://www.isranews.org/thaireform-doc-mass-comm/item/49359-beau190859.html.

McCombs, M.E. and Becker, L.E. (1979). Using Mass Communication Theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Pavlik, John. (1999). Journalism and New Media. New York: Colombia University Press.

The Associated Press and the Context-Based Research Group. (2008). A New Model for News: Studying the Deep Structure of Young-Adult News Consumption. [Online] Retrieved from http://manuscritdepot.com/edition/documents-pdf/newmodel.pdf.

Translated Thai References

Chaiyaset, M. (2003). The expectations, uses and gratifications of audiences in Bangkok to the This is Thailand Program on Channel 5. (Master’s thesis, Thammasat University of Mass Communication). (in Thai)

Eamamphai, B. (1996). Factors That Influence Both Exposure to and Membership of Jor Sor 100 Radio Program. (Master’s thesis, Thammasat University of Mass Communication). (in Thai)

Flagfrog. (2016). Research suggests worrisome journalism. People Eaters Free Press via Facebook more. Retrieved December 28, 2016, from http://www.flagfrog.com/news-on-facebook/. (in Thai)

Isranews. (2016). The research results. The Chamber Read more news to share, read news from home. Retrieved January 4, 2016, from http://www.isranews.org/thaireform-doc-mass-comm/item/49359-beau190859.html. (in Thai)

Pingkanon, P. (2005). News Reporting and Writing. Bangkok: Chulalongkorn University press. (in Thai)

Srisaracam, S. (2011). The role of Social Media and the changing of news reporting process. (Research Report). Retrieved December 28, 2016, from http://cdn.gotoknow.org/assets/media/

files/000/998/025/original_20140218223136.pdf?1392737496. (in Thai)

Thai Civil Rights and Investigative Journalism. (2014). The cause of investigative reporting. (Investigative Report) in the newspaper. (Research Report). Retrieved December 28, 2016, from http://tcijthai.com/tcijthainews/view.php?ids=4083. (in Thai)

Voice TV. (2011). Everyone is a journalist in new media era. Retrieved December 28, 2016, from http://news.voicetv.co.th/thailand/5396.html (in Thai)