สื่อมวลชน : เสรีภาพและความรับผิดชอบ

Main Article Content

พัชราภา เอื้ออมรวนิช

Abstract

การนำเสนอบทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการทำงานของสื่อมวลชน
ในสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้เสรีภาพและความรับผิดชอบของสื่อมวลชนโดยสื่อมวลชนถือได้ว่าเป็นฐานันดร
ที่ 4 ของสังคมโดยคำว่า ฐานันดรนั้นหมายถึง ลำดับในการกำหนดชั้นของบุคคลตามยศ หรือบรรดาศักดิ์
ซึ่งแต่ละฐานันดรล้วนแล้วแต่มีสิทธิพิเศษในสังคมและอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย เมื่อสื่อมวลชนถูก
ขนานนามว่าเป็น ฐานันดรที่ 4 สื่อมวลชนก็ย่อมจะถูกนับว่าเป็นผู้มีอำนาจด้วยเช่นกัน โดยสื่อมวลชนถูก
คาดหวังจากสังคมใหน้ าํ เสนอขา่ วสารทผี่ คู้ นสว่ นใหญใ่ หค้ วามสนใจ สงิ่ ทพี่ งึ ตระหนักในการเปน็ สอื่ มวลชนทดีี่
คือ ความรับผิดชอบในการสื่อข่าว สื่อมวลชนจะต้องมีหน้าที่ในการเป็นสุนัขเฝ้ายาม เป็นนายทวารข่าวสาร
กลั่นกรองข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม สื่อมวลชนไม่ว่าจะเป็นสื่อดั้งเดิม หรือ
สอื่ ใหมต่ า่ งก็มสี ทิ ธิและเสรีภาพอันชอบธรรมในการรายงานขา่ วสารเหตุการณท์ เี่ กิดขนึ้ ในสังคมใหผ้ รู้ บั สารทราบ
แตก่ ารรายงานขา่ วของสอื่ มวลชนกลับยังไดร้ บั การวิพากษว์ จิ ารณถ์ งึ เสรีภาพและความรับผิดชอบอยูบ่ อ่ ยครงั้
ดังเช่นกรณีการทำข่าวการเสียชีวิตของดาราชาย ปอ ทฤษฎี สหวงษ์ หรือการถ่ายทอดสดกรณีการจับกุม
อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่ก่อเหตุยิงเพื่อนร่วมงานเสียชีวิต ซึ่งการถูกวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ
กลับยังไม่มีหนทางที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหาจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรังของสื่อในปัจจุบัน ดังนั้นจึงต้องอาศัย
ความร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และภาคประชาชน เพื่อทำให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพบนพื้นฐาน
ความรับผิดชอบ


This article has the objectives to reflect the work of press in the current situation under the
rights and responsibility of the press. The press is referred to as the fourth estate of society.
The estates are equivalent to social classes which define the levels of persons based on their
status or rank. People in upper classes have privileges in society and powers to enact laws.
As the press is called the fourth estate, so they have powers too. The press people are expected
by society to present the news that are in the public interest. The good press shall have responsibility
in reporting news. The press has a duty and role as a watchdog. It has to screen and select the
correct information and news which are beneficial for society. All media, either the traditional or
new type, have rights and freedom to report news and events occurring in society to receivers.
Many times the media reports have drawn criticism regarding its freedom and responsibility.
For example, the reports of the death of actor Por Thrisadee Sahawong or the live broadcast of the
arrest of Phranakorn Rajabhat University’s lecturer who shot dead his colleague.
Despite the criticism, there is still no clear solution to this problem and thus it has become
a chronic problem of the media in the present time. Therefore, the cooperation of people concerned
in the government and public sectors are needed to ensure that freedom of the press comes with
responsibility.

Article Details

Section
Academic Articles
Author Biography

พัชราภา เอื้ออมรวนิช, Dhonburi Rajabhat University

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2556). สื่อสารมวลชน : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

Kanjana Kaewthep. (2013). Media : Theories and Approaches. 4th Edition. Bangkok : Parbpim Ltd., Part.

กองบรรณาธิการเว็บ. ปฏิวัติคนข่าว ทุน-อุดมการณ์ การปรับตัวของนักนิเทศศาสตร์ยุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2558, จาก http://www.tja.or.th/index.php?option=com_ content&view=article&id=

:2015-06-09-02-55-21&catid=46:academic.

Web Editor. Revolution of Reporter, Capital - Ideology and The Adjustment in Digital Age. Retrieved September 11, 2015, from http://www.tja.or.th/index.php?option=com_content& view=article&id=3730:2015-06-09-02-55-21&catid=46:academic.

จักร์กฤษ เพิ่มพูล. (2557). จรรยาบรรณนายทุนสื่อ. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.komchadluek.net/news/politic/192713.

Chakrit Permpoon. (2014). Ethics of Media entrepreneur. Retrieved July 25, 2016, from http://www.komchadluek.net/news/politic/192713.

นันทนา นันทวโรภาส. (2557). การสื่อสารทางการเมืองในประชาคมอาเซียน. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก 32 (3), 133-154.

Nantana Nantavaropas. (2014). Political Communication in ASEAN Community. Romphruek Journal Krirk University 32(3), 133.154.

พีระ จิระโสภณ. (2551). ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 10. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Peera Jerasophon. (2008). Philosophy of Communication Arts and Communication Theory Unit 10. Nonthaburi : Sukhothai Thammathirat Open University.

พงษ์ วิเศษสังข์. (2552). ความรับผิดชอบของสื่อมวลชน. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 22-29.

Pong Wisessang. (2009). Media Responsibility and Accountability. Bangkok University Research Conference, 22-29.

มาลี บุญศิริพันธ์. (2556). วารสารศาสตร์เบื้องต้น : ปรัชญา และแนวคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Maree Boonsiriphan. (2013). Introduction to Journalism : Philosophy and Concept. 2nd Edition. Bangkok : Thammasat University Press.

แรนดัล, เดวิด. (2559). คนข่าว ฉลาดทำงานศตวรรษที่ 21. แปลโดย สุนันทา แย้มทัพ.กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

Randall, D. (2016) The universal journalist. Translate by Sunanta Yamthap. Bangkok : Kobfai.

ศิริวรรณ อนันต์โท และสันทัด ทองรินทร์. (2559). จริยธรรมในวิชาชีพสื่อมวลชน. นครปฐม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.

Siriwan Anantho and Santad Thongrin. (2016). Ethics of the Mass Media Profession. Nakornpathom : Mahidol University Press.

สมคิด บางโม. (2551). กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เอส เค บุ๊คส์.

Somkid Bangmo. (2008). Law and Ethics of Mass communication. Bangkok : S.K. Book.

Harrison, J. (2006). News. London: Routledge.

Ravi, B.K. (2012). “Media and Social Responsibility : A Critical Prespective with Special Referance to Television.” Academic Research International. 2(1), 306-325.

Shoemaker, P.J. (2006). News and newsworthiness : A commentary. Communications 31, 105-111.