ผังมโนทัศน์: เครื่องมือสำคัญสำหรับการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21; Concept Mapping: Useful Tool for Mathematics Education in 21st Century

Main Article Content

วนินทร สุภาพ Wanintorn Supap

Abstract

การจัดการศึกษาคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่มากเพียงพอและสามารถนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆได้ การบรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าวต้องมีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์และการประเมินผลการเรียนรู้ ผังมโนทัศน์คือแผนภาพที่ช่วยในการจัดระบบความคิดและสื่อสารถึงความรู้ความเข้าใจในการเชื่อมโยงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เปรียบเสมือนเครื่องมือสำคัญที่ถูกใช้เพื่อพัฒนาทั้งผู้เรียนและผู้สอน ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและช่วยให้ผู้สอนเข้าใจแนวคิดที่อยู่ในใจของผู้เรียน ช่วยสะท้อนถึงผลการจัดการเรียนรู้ ช่วยประเมินผลการเรียนรู้และช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นบทความนี้จึงนำเสนอแนวทางการใช้ผังมโนทัศน์ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์และตัวอย่างผังมโนทัศน์ที่สะท้อนถึงความเข้าใจของผู้เรียน

Article Details

Section
Academic Articles

References

ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

มนัส บุญประกอบ. (2545). ผังมโนทัศน์. สารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 27(3), 111-118.

สุนีย์ คล้ายนิล. (2558). การศึกษาคณิตศาสตร์ในระดับโรงเรียนไทย การพัฒนา-ผลกระทบ-ภาวะถดถอยในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

สุวิชา ดวงฟู, และวิเชียร ธำรงโสตถิสกุล. (2560). ผลการใช้วิธีการสอนแบบเปิดที่มีต่อความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 12(34), 113-126.

อัมพร ม้าคนอง. (2557). คณิตศาสตร์สำหรับผู้สอนมัธยม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Afamasaga-Fuata'i, K. (Ed.). (2009). Concept mapping in mathematics: Research into practice. New York, NY: Springer.

Baroody, A. J., & Bartels, B. (2001). Assessing Understanding in Mathematics with Concept Mapping. Mathematics in School, May 2001, 24-27.

Bartels, B. H. (1995). Promoting Mathematics Connections with Concept Mapping. Mathematics Teaching in Middle School, 1(7), 542-549.

Brinkmann, A. (2003). Graphical Knowledge Display – Mind Mapping and Concept Mapping as Efficient Tools in Mathematics Education. Mathematics Education Review, 16, 35-48.

Gallenstein, N. L. (2011) Mathematics concept maps: assessing connections. Teaching Children Mathematics, 17(7), 436-440.

Lanzing, W.A. (1998). Concept Mapping: Tools for echoing the minds eye. Journal of visual Literacy, 18(1), 1-14.

Novak, J.D., & Gowin, D. B. (1984). Learning how to learn. New York, Cambridge University Press.

Novak, Joseph D. and Cañas, Alberto J. (2008). The Theory Underlying Concept Maps and How to Construct and Use Them.Technical Report. Institute for Human and Machine Cognition, Pensacola.

_______. (2009). The Development and Evaluation of the Concept Mapping Tool Leading to a New Model for Mathematics Education. In K. Afamasaga Fuata’I (Ed.) Concept Mapping in Mathematics: Research into practice. New York, Springer Publishers.