ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัวต่อการทำหน้าที่ของครอบครัว ตามการรับรู้ของผู้ป่วยโรคจิตจากสุราหรือยาเสพติด EFFECT OF FAMILY PSYCHOEDUCATION PROGRAM ON FAMILY FUNCTION AS PERCEIVED BY PATIENTS WITH ALCOHOL OR SUBSTANCE INDUCED PSYCHOTIC

Main Article Content

สมควร จุลอักษร
ภัทราจิตต์ ศักดา
สรสพร จูวงษ์
สุธิภา เครือสนิท
คนึงนิตย์ วิชัยดิษฐ์

บทคัดย่อ

Abstract


Objectives: To compare the family function as perceived by patients with alcohol or substance induced psychotic disorder before and after participating in the family psychoeducation, and to compare the family function as perceived by patients with alcohol or substance induced psychotic disorder between the experimental group who participated in family psychoeducation and a control group.


Methods: This study was a quasi- experimental research design. Subjects were sixty patients with alcohol or substance induced psychotic disorder hospitalized at Suansaranrom Hospital and were purposively recruited according to inclusion criteria. They were divided into experimental and control group equally. The experimental group received family psychoeducation program while the control group received routine care. Family function was measured by Family Function Questionnaire. Demographic data were analyzed by descriptive statistics. T-test was used for data analysis. Results: All sixty samples were men. After that  experiment, mean scores of overall family function and each domain of that experimental group were significantly higher than those before. After that experiment, mean scores of overallfamily function and each domain of the experimental group were significantly higher than those of the control group.


Conclusion: Family psychoeducation program can enhance family function as perceived by patients with alcohol or substance induced psychotic disorder better than routine nursing care. Therefore, this program should be applied to enhance family function in family and patients with alcohol or substance induced psychotic disorder.

บทคัดย่อ


วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบการทำหน้าที่ ของครอบครัวตามการรับรู้ของผู้ป่วยโรคจิตจาก สุราหรือยาเสพติดก่อนและหลังได้รับโปรแกรม สุขภาพจิตศึกษาครอบครัวและเปรียบเทียบการ ทำหน้าที่ของครอบครัวตามการรับรู้ของผู้ป่วย โรคจิตจากสุราหรือยาเสพติด ของกลุ่มที่ได้รับ โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัวและกลุ่มควบคุม


วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคจิตจากสุราหรือ ยาเสพติดที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติ ที่กำหนดจำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา ครอบครัว กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ ประเมินการทำหน้าที่ครอบครัวด้วยแบบวัดการ ทำหน้าที่ครอบครัว ข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์ด้วย สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ t-test ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย จำนวน 60 คน ค่าเฉลี่ยคะแนนการทำหน้าที่ของ ครอบครัวตามการรับรู้ของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา หรือยาเสพติดทั้งโดยรวมและรายด้านหลังเข้าร่วม โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัวสูงกว่าก่อน เข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญหลังการทดลอง ค่าเฉลี่ยคะแนนการทำหน้าที่ของครอบครัวตาม การรับรู้ของผู้ป่วยโรคจิตจากสุราหรือยาเสพติด ทั้งโดยรวมและรายด้านของกลุ่มทดลองสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ


สรุป: การให้สุขภาพจิตศึกษาครอบครัว สามารถเสริมสร้างการทำหน้าที่ของครอบครัวตาม การรับรู้ของผู้ป่วยโรคจิตจากสุราหรือยาเสพติด ได้ดีกว่าการดูแลตามปกติ จึงควรพิจารณานำโปรแกรมฯ มาประยุกต์ใช้ในการดูแลครอบครัว และผู้ป่วยโรคจิตจากสุราหรือ   ยาเสพติด เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการทำหน้าของครอบครัวให้ดียิ่งขึ้น


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมคุมประพฤติ, สถาบันธัญญารักษ์, กองทัพบก, กองทัพเรือ, และกรมการปกครอง. (2549). คู่มือการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัด. นนทบุรี: สถาบันธัญญารักษ์.

จรินทร์ยา เพชรน้อย. (2552). ภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา. สารนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร์การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ญาดา จีนประชา. (2550). ผลการใช้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาต่อพฤติกรรมการช่วยเหลือของสมาชิกในครอบครัวแก่ผู้ป่วยติดสุราเพื่อการป้องกันการติดซ้ำ. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บทคัดย่อ สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2557 จากhttp://www.thanyarak.go.th.

ทิพาวดี เอมะวรรธนะ. (2548). จิตวิทยาการปรึกษาสำหรับผู้ติดยาเสพติด (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง.

ธวัชชัย ลีฬหานาจ. (2549). โรคทางจิตเวชที่เกิดร่วมกับโรคติดสารเสพติด: Co-occurring Psychiatric Disorder in Addiction, ใน ชัยแสง ชาญชัย, พงศธร เนตราคม, และนวพร หิรัญวิวัฒน์กุล (บรรณาธิการ), ตำราจิตเวชศาสตร์การติดสารเสพติด: Textbook of Addiction Psychiatry (หน้า 99-109). กรุงเทพมหานคร: บางกอกบล๊อก.

บุญศิริ จันศิริมงคล. (2557). ความรู้และทักษะการดูแลผู้ที่มีปัญหาการดื่มสุราและผู้มีโรคจิตเวชร่วมจากสารเสพติด. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการการดูแลโรคจิตเวชร่วมในผู้ที่มีปัญหาสุรา/ยาเสพติด 18-20 กุมภาพันธ์ 2557. ณ โรงแรมอมารีแอร์พอร์ท. กรุงเทพมหานคร.

บุญศิริ จันศิริมงคล, สาวิตรี สุริยะฉาย, หทัยชนนี บุญเจริญ, กนกกาญจน์ วิโรจน์อุไรเรือง, สรสพร จูวงษ์, และอ่นุ จิตร คุณารักษ์. (2556). โรคร่วมจิตเวชของผู้ป่วยในจิตเวชที่มีปัญหาการดื่มสุรา. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 21(2), 76-87.

มานิตย์ ศรีสุรภานนท์ และไพรัตน์ พฤกษชาติคุณากร. (2542). โรคที่สัมพันธ์กับการใช้สาร ในมานิตย์ ศรีสุรภานนท์ และจำลอง ดิษยวานิช(บรรณาธิการ), ตำราจิตเวชศาสตร์. (หน้า117-138). เชียงใหม่: แสงศิลป์.

มานิตย์ ศรีสุรภานนท์. (2545). โครงการอบรมแนวทางการสัมภาษณ์และให้คะแนน BPRS ในรูปแบบ ของ T-PANSS. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง การประเมินอาการผู้ป่วยจิตเวช 20-21 พฤษภาคม 2545.สุราษฎร์ธานี: โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. เอกสารอัดสำเนา.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2548). จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์.

โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. (2556). รายงานสถิติประจำปี 2554-2556 โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เอกสารอัดสำเนา.

วิภาวี จันทมัตตุการ. (2555). การพัฒนาและผลการใช้คู่มือครอบครัวศึกษาสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตจากสุราและยาเสพติดรายงานการวิจัย. โรงพยาบาลสวนสราญรมย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: โรงพยาบาลสวนสราญรมย์.

สมควร จุลอักษร. (2548). ผลการใช้โปรแกรมกิจกรรมกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงต่อความสำนึกในคุณค่าแห่งตนของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 15(3), 199-204.

สมภพ เรืองตระกูล. (2548). ตำราจิตเวชศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.

สายใจ ก้าวอนันตกูล. (2553). ความเข้มแข็งอดทนด้านจิตใจและการเผชิญปัญหาของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา. สารนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร์ การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล. (2546). การติดตามผลการดำเนินโรคของโรคจิตจากเมทแอมเฟตามีน6 เดือน และปัจจัยเสี่ยงในการกลับป่วยซ้ำเอกสารการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 2 สุขภาพจิตกับยาเสพติด ปี 2546. (หน้า 225). วันที่ 19-21 สิงหาคม 2546. กรุงเทพมหานคร: โรงแรมแอมบาสเดอร์. สืบค้นจาก www. dmh.go.th/abstract/details.asp?id=288

อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). จิตบำบัดและการให้คำปรึกษาครอบครัว. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและพัฒนาครอบครัวจำกัด.

Burn, M., & Grove, S. K. (1997). The practice nursing research: Conduct, critique and utilization. Philadelphia: W.B. Saunders.

Center for Substance Abuse Prevention. (2002). Finding the Balance: Program Fidelity and Adaptation in Substance Abuse Prevention. A State-of-the-Art Review [and] Executive Summary. Retrieved February 19, 2010,Portal/ cstom/portlets/ recordDetails / detailmini.jsp?_nfp

Epstein, N. B., Baldwin, L. M., & Bishop, D. S. (1983). The Mc Master family assessment device. Journal of Marital and Family Therapy, 12(9), 171-180.

Kaplan, H. I., & Sadock, B. J. (1998). Synopsis of psychiatry: Behavioral science/clinical psychiatry. (8th ed.). The United States of America: Williams & Wilkins.

McFarlane, W. R., Dixon, L., Lukens, E., & Lucksted, A. (2003). Family psychoeducation and schizophrenia: A review of the literature. Journal of Marital and Family Therapy, 29(2), 223-245.

Mckenna, C. (1997). Substance induced psychotic. In R. Corsini. (Ed.). The principle and practice of addictions in psychiatry (pp.103-12) Philadelphia: Saunder.