أمة واحدة داسر كهيدوفن أهل السنة والجماعة كأره كخمرلغن أمة

Authors

  • إسماعيل لطفي جافاكيا, 6852279

Keywords:

Ummah Wahida, Ahlus Sunnah Wal Jamaah, Muslim prosperity

Abstract

 

أبستراك

كاجين اين برتوجوان اونتوق مغأناليسيس كونسيف أمة واحدة ددالم القرآن دان السنة برداسركن كفاهمن فارا علماء معتبر، مغولس ايشو۲ سماس بركأيتن أمة واحدة برداسركن القرآن دان السنة.  دان مغموكاكن قاعدة ۲ بائي ممفركاساكن روح أمة واحدة دالم كالغن أمة اسلام سدنيا فدا زمان متأخر اين. داتا۲ كاجين دكومفولكن دري باهن۲ روجوعكن برأوتوريتي ترأوتام تفسير القرآن دان علومث، شروح السنة دان علومث. داتا ۲ ترسبوت كمدينث دأناليسيس برداسركن ميتود ديسكريفتيف، ميتود استدلال، استقراء دان جوئا ميتود استنباط. حاصل كاجين مندافتي بهوا كونسيف أمة واحدة ددالم القرآن دان السنة اياله أمة مأنسي يغ برفئغ دغن ائام إسلام سجق دري زمان نبي الله آدم عليه السلام هيغئا زمان نبي محمد صلى الله عليه وسلم . مريك دفيمفين اوليه فارا نبي دان ستله كوفاتن نبي محمد صلى الله عليه وسلم، مريك دفيمفين فولا اوليه فارا فميمفين يغ داتغ سلفس بئيندا دغن بربائي ئلاران يغ دبريكن. أمة واحدة دالم كونتيكس أمة نبي محمد صلى الله عليه وسلم اداله سام دغن أهل السنة والجماعة. منهج أمة واحدة اياله منهج وسطية يغ جلس دان برسيه درفد خمفوران دخن دإيرا كفيمفينن  فارا صحابة رضي الله عنهم دان كأدأن يغ دمكين برأوبه فد زمان۲ يغ ستروسث كران برخمفور دخن، ميسكيفون اداث كبأيقكن (خير). توئس نصيحة دان إصلاح كروسقكن تتف دتروسكن دالم جماعة أمة واحدة. سموا ايشو۲ بركأيتن امة واحدة، فد كسلوروهنث، دافت دسلسيكن دغن  مغيكوت أراهن القرآن دان السنة. قاعدة۲ بائي ممفركاساكن روح أمة واحدة فد ماس متأخر اين  اياله قاعدة ۲ يغ سام يغ دعملكن اوليه جنراسي اولوغ يأيت فارا صحابة نبي محمد صلى الله عليه وسلم.

 كات كونخي: أمة واحدة، أهل السنة والجماعة، كخمرلغن أمة.

บทคัดย่อ

 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์มโนทัศน์ของอุมมะฮ์วาหิดะฮ์ ในอัลกุรอานและซุนนะฮ์ ตามความเข้าใจของปราชญ์อิสลาม ประมวลกรณีอุมมะฮ์วาหิดะฮ์ตามหลักการอัลกุรอานและซุนนะฮ์ในสถานการณ์ร่วมสมัย และแนวทางการนำเสนอและส่งเสริมอุมมะฮ์วาหิดะฮ์แก่ประชาคมมุสลิมทั่วโลก โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิ อันประกอบด้วยตัฟซีรและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ตำราอธิบายซุนนะฮ์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีพรรณนา อิสติดลาล อิสติกเราะอ์ และอิสติมบาฏ ผลการวิจัยพบว่า อุมมะฮ์วาหิดะฮ์ตามหลักการอัลกุรอานและซุนนะฮ์ในสถานการณ์ร่วมสมัย และแนวทางการนำเสนอและส่งเสริมอุมมะฮ์วาหิดะฮ์แก่ประชาคมมุสลิมทั่วโลก โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิ                   อันประกอบด้วยตัฟซีรและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ตำราอธิบายซุนนะฮ์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีพรรณนา อิสติดลาล อิสติกเราะอ์ และอิสติมบาฏ

ผลการวิจัยพบว่า อุมมะฮ์วาหิดะฮ์ตามหลักการในอัลกุรอานและซุนนะฮ์ คือมวลมนุษยชาติที่นับถือศาสนาอิสลาม นับตั้งแต่สมัยนบีอาดัม อ.ล. มาจนกระทั่งนบีมุฮัมมัด ศอลฯ นำโดยบรรดานบีทั้งปวง ต่อมาภายหลังการเสียชีวิตของท่านนบีมุฮัมมัด ศอลฯ อุมมะฮ์วาหิดะฮ์ ก็นำโดยผู้นำมุสลิมที่มีสมญานามต่างๆ             อุมมะฮ์วาหิดะฮ์ในนิยามของประชาชาติอิสลาม มีความหมายเดียวกันกับอะฮ์ลิซซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ วิถีอุมมะฮ์วาหิดะฮ์คือวิถีดุลยภาพและความชัดเจน โดยในยุคศอหาบะฮ์เป็นวิถีที่บริสุทธิ์ ปราศจากสิ่งแปลกปลอมใดๆ แต่ในยุคต่อมา สิ่งแปลกปลอมก็เข้ามามากขึ้น แม้ว่าส่วนใหญ่จะยังมีคุณงามความดีอยู่ก็ตาม ทั้งนี้ หน้าที่แนะนำตักเตือนเพื่อแก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาดจะยังคงดำรงอยู่ในอุมมะฮ์วาหิดะฮ์ กรณีปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอุมมะฮ์วาหิดะฮ์สามารถแก้ไขได้ตามวิธีการในอัลกุรอานและซุนนะฮ์ แนวทางการส่งเสริมอุมมะฮ์วาหิดะฮ์ในยุคท้ายนี้มีลักษณะเฉกเช่นเดียวกันกับแนวทางในยุคประชาชาติที่ดีเลิศ ซึ่งได้แก่ยุคซอฮาบะฮ์ ร.ด.

 คำสำคัญ: อุมมะฮ์วาหิดะฮ์ อะฮ์ลิซซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ ความรุ่งเรืองของประชาชาติ

 

Abstract

 

This paper aimed to analyze the concept of the Ummah Wahidah stated in the Qur’an and the Sunnah based on the Islamic scholars’ understandings; study Ummah Wahidah case studies in contemporary situations; and explore approaches to presentation and promotion of the Ummah Wahidah concept to the Muslim world. Data were collected from the primary sources including the Qur’anic Commentary (tafseer) and its relevant sciences and the Prophet’s Traditions (Sunnah) explanatory textbooks as well as relevant sciences. Descriptive analysis, inference (istidlal), thematic inference (istiqra’), and logical deduction (istinbat) were applied in data analysis. 

The findings indicate that the Ummah Wahidah defined by the Qur’an and the Sunnah refers to the Muslim community existing during the prophetic period, from Prophet Adam (pbuh) to Prophet Muhammad (pbuh). After the last prophet’s era, Ummah Wahidah has been practiced and led by prominent Muslim leaders. The definition of Ummah Wahidah in the Islamic view is similar to that of Ahlus Sunnah Wal Jamaah. Ummah Wahidah is the distinctive and balanced path, which was pure during the period of Prophet Muhammad’s (pbuh) Companions. Despite quite impurity, the concept currently has merit. Difficulties and problems existing in the practice of Ummah Wahidah can be solved and eliminated through strategies and methods stated in the Qur’an and the Sunnah. It is recommended to follow the Companions’ approach to promotion of the concept.

 Keywords: Ummah Wahida, Ahlus Sunnah Wal Jamaah, Muslim prosperity

 

Downloads

Published

2018-02-04