Marketing Mix Affecting Female Generation Y Consumers in Mueang Chiang Mai District Towards Purchasing Fake Jewelry

Main Article Content

นุชจรี ติรศุภนนท์
ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย
เรนัส เสริมบุญสร้าง
ชวภณ สิงหจรัญ

Abstract

This study aimed to review marketing mix affecting female generation Y consumers in Mueang Chiang Mai district on purchasing fake jewelry by applying the theory of the Marketing Mix. The samples of this study were specified only female consumers who were at the age of 20-37 years old, residing in Mueang Chiang Mai District and purchased the last fake jewelry less than 3 months. The 300 samples were chosen by using a convenience sampling method. The data was collected by the questionnaire and analyzed for frequency, percentage, and mean together with F-Test (One-way ANOVA).


The findings revealed that the marketing mix factors, ranked from the highest level of importance, were promotion, place, price and production which were ranked at the high level, respectively. The demographic factor included age, career, marital status, education level and income, affecting their decision making on purchasing fake jewelry at the .05 significance level.

Article Details

How to Cite
ติรศุภนนท์ น., ตั้งสมชัย ช., เสริมบุญสร้าง เ., & สิงหจรัญ ช. (2018). Marketing Mix Affecting Female Generation Y Consumers in Mueang Chiang Mai District Towards Purchasing Fake Jewelry. Journal of Graduate Research, 9(2), 215–231. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/banditvijai/article/view/133237
Section
Research Article

References

กมลชนก ก้าวสัมพันธ์ และปะราสี เอนก. (2560). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ประเภทบำรุงร่างกายของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 8(2). 183 – 198.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2559). ข้อมูลจดทะเบียนนิติบุคคลเดือนตุลาคม 2559. สืบค้นจาก https://www.m-society.go.th/article_attach/18295/20247.pdf

กุณฑลี รื่นรมย์. (2555). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุลธิดา ก้าวสัมพันธ์ และปะราสี เอนก. (2561). การส่งเสริมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมบริโภคกาแฟสดแฟรนไชส์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 9(1). 183 – 199.

ดรุณี พลบุตร. (2558). พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ เครื่องประดับบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระวารสารศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการการสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

ธีระภัทร์ เอกผาชัยสวัสดิ์. (2551). ประชากรศึกษา. สืบค้นจาก https://computer.pcru.ac.th/emoodledata/19/

นวพร เพชรแก้ว. (2559). พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดของผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องประดับเงินในประเทศไทย. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการสาระและการสร้างคุณค่า มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

ปฏิภาณ สุวรรณพัฒนา. (2557). ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศในการเลือกซื้อเครื่องประดับเงินในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. (การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ปรมะ สตะเวทิน. (2546). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพการพิมพ์.

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.

ปิยภา แดงเดช. (2557). การสรุปการบรรยายของนักศึกษา D.B.A.06 มหาวิทยาลัยศรีปทุม เอกสารสืบค้น และเอกสารประกอบการเรียนการสอน. สืบค้นจาก https://aya55ake.wordpress.com/2014/11/19/%

ระบบสถิติทางการทะเบียน. (2558). จำนวนประชากรแยกรายอายุ. สืบค้นจาก https://stat.dopa.go.th/stat/
statnew/upstat_age_disp.php

รัตนาภรณ์ แซ่ตั้ง. (2552). การศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยทางการตลาดในการซื้อเครื่องประดับเงิน กรณีศึกษาผู้บริโภคในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร. (การศึกษาเฉพาะบุคคลบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, ปณิดา มีจินดา, จิระวัฒน์ อนุวิชชานนท์ และอรทัย เลิศวรรณวิทย์. (2552).
การบริหารตลาดยุคใหม่ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2552. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรัตน์. (2541). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์, ศุภร เสรีรัตน์ และองอาจ ปะทะวานิช. (2546). การบริหารตลาดยุคใหม่ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2546. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.

ศุภามาส ก้อนพิลา และกรวีร์ ชัยอมรไพศาล. (2561). ส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกใช้บริการเช่าห้องพักในเขตตำบลช้างเผือก อำเภอมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 9(1). 201 – 215.

สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับ (องค์การมหาชน), ศูนย์ข้อมูลอัญมณีและเครื่องประดับ. (2559). อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ (เครื่องประดับเทียม). สืบค้นจาก https://www.thaitextile.org/index.php/blog/2016/08/thti18201601

สมจิตร ล้วนจำเริญ. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2559). ETDA เผยผลสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้เนตปี 58 เจาะผู้ใช้แยกตามเจนเนอเรชั่นแบบถึงกึ๋น. สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/content/thailand-internet-user-profile-2015.html

สุธี วงษ์วิชาสวัสดิ์. (2556). ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อลูกค้าห้างหุ้นส่วนสามัญ เงินทองยนต์ จังหวัดเชียงใหม่ ในการซื้อเครื่องประดับเงิน. (การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

สุวสา ชัยสุรัตน์. (2537). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ภูมิบัณฑิตการพิมพ์.

อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2549). กลยุทธ์การตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.