การประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Based Learning: PBL) ในรายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1: การออกแบบการดูแลสุขภาพครอบครัว

ผู้แต่ง

  • เจียมใจ ศรีชัยรัตนกูล
  • สำลี สำลีกุล

คำสำคัญ:

การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก, การคิดอย่างเป็นระบบ, การทำงานเป็นทีม

บทคัดย่อ

การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง คิดวิเคราะห์เป็น แก้ไขปัญหาโดยเฉพาะในสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความสามารถในการทำงานเป็นทีมได้ เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผลงานที่ได้จะมีคุณภาพ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประยุกต์ใช้แนวคิดของการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1 ในหัวข้อเรื่องกำรออกแบบการดูแลสุขภาพครอบครัว สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ผลการจัดการเรียนการสอน พบว่า นักศึกษาสนุกมีความกระตือรือร้น ได้เรียนรู้วิธีการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการแลกเปลี่ยนความรู้และวิธีคิดกับเพื่อนๆในกลุ่ม รู้จักการทำงานเป็นทีม นักศึกษาชอบการเรียนแบบนี้มากกว่าการบรรยาย เพราะมีอิสระทางความคิด ได้ฝึกการฟังผู้อื่น และได้ฝึกคิดแก้ปัญหา ซึ่งเป็นทักษะที่สอดคล้องกับทักษะศตวรรษที่ 21

References

Areejittranusorn, C. [Internet]. (2009). Desired Characteristics of Graduate. Retrieved from https://home.
kku.ac.th/chuare/e-article/graduateframework.pdf on. (in Thai).

Aryuwat, S. (2017). Problem based Learning: Challenges for Nursing Education to Develop Learning in 21st Century. Nursing Journal of the Ministry of Public Health, 27(2), 15-30. (in Thai)

Faculties of Praboromarajchanok Institute for Health Workforce Development. (2015). Teacher Guide of
Problem Based Learing for Nursing College under Praboromarjchanok Institute. Nontha Buri:
Yutharin Printing. (in Thai).

Kan, K. (2010). 21st Skills: Why they matter, What they are, and How we get there. In James, B & Ron, B.
(Ed.), 21st Century skills: Rethinking how students learn (xiii-xxxi).

Khamanee, T. (2016). Teaching science: Body of Knowledge for effectively Management in Learning
Process. 20th edition. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai).

Klanklin, A. (2012). Problem Based Learning in Nursing. 1st edition. Chiang Mai: Nana Printing House. (in Thai).

Klomim, K. (2017). How to learning Problem Based Learning: Course Design and Development Course for Students Teachers. Graduate Journal of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, 11(2), 179-192. (in Thai)

Lekakool, A. (2008). Problem Based Learning. Faculty of Medicine. Songkhla Nakarin University. Retrieved
from https://teachingresources.psu.ac.th/document/2548/Le_Kha_Kun/PBL.pdf. (in Thai).

Lawlow, Y. (2014). Introduction to Problem Based Learning. 8th International Interdisciplinary Summer Institute Lecture (Lecture). Canada: School of Nursing, McMaster University.

Makmee, P. (2011). [Internet] Problem Based Learning. EAU Heritage Journal: Social Science andHumaniies, 1(1),
7-14. Retrieved from https://tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSocSci/article/view/28708/24713. (in Thai).

Poole L.B., Lunyk-Child O., Lawler Y. (2014). Student and tutor roles in Problem Based Learning. 8th
International Interdisciplinary Summer Institute Lecture (Lecture). Canada: School of Nursing,
McMaster University.

Terry, B. & Sarah, M. (2011). New approaches to Problem-Based Learning: Revitalizing your practice in
higher education. 1st edition. New York: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-03