อปจายนมัยเป็นบ่อเกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม

Main Article Content

พระอธิการแสงทอง ฐานิโย (วารี)

Abstract

บทคัดย่อ

อปจายนมัยเป็นบ่อเกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม ทุกสังคมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนให้บุคคลปฏิบัติต่อกัน อนุเคราะห์สงเคราะห์ช่วยเหลือกันและกัน ให้ครบถ้วนทั้งหกทิศเพราะทิศทั้งหกเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ได้แก่ การปฏิบัติระหว่างบิดามารดากับบุตร อาจารย์กับศิษย์สามีกับภรรยา มิตรกับมิตร นายจ้างกับลูกจ้าง สมณะหรือนักบวชกับประชาชน การช่วยเหลือสงเคราะห์กันตามหลักทิศ ๖ ถือว่าเป็นหน้าที่ เป็นกิจที่ควรกระท????ำและต้องท????ำด้วยความเคารพอ่อนน้อมต่อท่านผู้มีความเป็นผู้ใหญ่ ผู้สูงด้วยคุณธรรม เรียกว่า อปจายนมัย ในสังคมของเรานิยมกันคือ เคารพกันโดยวัยวุฒิ ชาติวุฒิ และคุณวุฒิการท????ำหน้าที่ ด้วยจิตใจอ่อนน้อม เป็นบุญอย่างหนึ่งที่โน้มใจไปในทางที่จะฝึกตน และเป็นการช่วยกันรักษาสังคมให้เราอยู่กันด้วยความรู้สึกเอื้อเฟื้อ เป็นหน้าที่ของมนุษย์ทุกคนต้องปฏิบัติ เพราะถือว่าเป็นหลักความสัมพันธ์ทางสังคมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของบุคคลในสังคมโดยแท้

Abstract

Apacāyanamaya is an origin of personal relationship in all societies. The Buddha taught people to help each other in six directions because these six directions are social relationship: practical relationship between parents and children, a husband and a wife,
a friend and a friend, an employer and an employee, and a monk or an ascetic and people. The good help according to the six directions is known as action appropriately produced by all people. That people produce this action with great respect to the elder persons was to follow Apacāyanamaya. In the society, the respect depends upon ages, birth and qualification. To do a duty with respectful mind is one type of merit to train oneself and to make the society full of help. This is the practiced human duty because it is known as the social relationship for living happily in the society.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)