การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลา

Authors

  • Ratthachaya Longsang "Tuksin University"

Keywords:

The Development of measurement tools, Health Behavior Literacy, Elderly

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดย 1) สร้าง
และหาคุณภาพเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ และ 2) สร้างเกณฑ์ปกติและคู่มือ
การใช้เครื่องมือ กลุ่มตัวอย่าง คือผู้สูงอายุ 60-69 ปี ในจังหวัดสงขลา จํานวน 674 คน ได้มาจากการสุ่มแบบ
หลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัย คือเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ ในจังหวัด
สงขลา ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ความยากง่าย อํานาจจําแนก ความเชื่อมั่น และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และ T-Score สําหรับเกณฑ์ปกติ
ผลการวิจัย พบว่า เครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ มีจํานวน 42 ข้อ
ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ การเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ การสื่อสาร
ด้านสุขภาพ การตัดสินใจด้านสุขภาพ การจัดการตนเองด้านสุขภาพ และการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศด้าน
สุขภาพ โดยความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (CVI) ในความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ มีค่าตั้งแต่ 0.57-1.00 ความ
เที่ยงตรงเชิงโครงสร้างในองค์ประกอบทั้ง 6 องค์ประกอบมีความสอดคล้องสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ
มีน้ําหนักองค์ประกอบตั้งแต่ 0.21-0.94 (ค่า 2 X = 7.86, df = 4, p =0.09, GFI = 0.99, AGFI = 0.95,
SRMR = 0.01 และ RMSEA = 0.05) ความยากง่าย มีค่าตั้งแต่ 0.66-0.76 อํานาจจําแนก มีค่าตั้งแต่ 0.31-
0.69 และอํานาจจําแนกจากการทดสอบที มีค่าตั้งแต่ 7.026-19.225 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.863 คะแนนเฉลี่ยของความรอบรู้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ เท่ากับ 63.37 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 17.474 คะแนนทีปกติ มีค่าตั้งแต่ T38 ถึง T63 และได้คู่มือการใช้เครื่องมือวัด
และเกณฑ์ปกติสําหรับใช้ในการแปลผลคะแนนรวม

References

กฤยากาญจน์ โตพิทักษ์. (2558). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. สงขลา: โรงพิมพ์เหรียญทองการพิมพ์.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.(2553). ผลการสํารวจ Health Literacy ของประชาชนไทย.
นนทบุรี: นิวธรรมดาการพิมพ์.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2556). แนวทางการพัฒนา ความรอบรู้
ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2 ส. และลดเสี่ยง. นนทบุรี: นิวธรรม
ดาการพิมพ์
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2557). คู่มือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของคน ไทย อายุ 15
ปีขึ้นไป ในการปฏิบัติตามหลัก 3อ 2ส (ABCDE-Health Literacy Scale of Thai Adults). นนทบุรี:
นิวธรรมดาการพิมพ์
ขวัญเมือง แก้วดําเกิง และนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร. (2554). ความฉลาดทางสุขภาพ. กรุงเทพฯ : นิวธรรมดา
การพิมพ์.
ชนวนทอง ธนสุกาญจน์ (2560). Health Literacy ยุทธศาสตร์สําคัญในการสะท้อนผลลัพธ์การส่งเสริม
สุขภาพและป้องกันโร. เอกสารประกอบการสัมมนา P&P Excellence Forum 2107. กรุงเทพฯ: คณะ
สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ชวาล แพรัตกุล. (2518). เทคนิคการวัดผล. กรุงเทพฯ: วัฒนาการพิมพ์.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (lisrel) สถิติวิเคราะห์ สําหรับการวิจัยทาง
สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร และ เดช เกตุฉ่ํา. (2554). การพัฒนาเครื่องมือวัดความฉลาดทางสุขภาพเกี่ยวกับโรค
อ้วนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ระยะที่ 1). นนทบุรี: สามเจริญพาณิชย์.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2531). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช.
พัชรี เขียวสอาด. (2550). ปัญหาและความต้องการด้านส่งเสริมสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุใน เขต เทศบาล
เมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สุวิริยา
สาส์น.
วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิพรรณ ประจวบเหมาะ. (2556). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา
ผู้สูงอายุไทย.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2541). การสํารวจความแตกฉานด้านสุขภาพ(Health literacy) ในกลุ่ม
ประชากรตัวอย่าง สําหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง. กรุงเทพฯ:
ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2541). “เกณฑ์ปกติ (Norms)”. วารสารการวัดผล, 4(1), 31-40.
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานผลการสํารวจประชากรสูงอายุ พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: เท็กซ์ แอนด์
เจอร์นัล พับลิเคชั่น.
สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2556). ชุดความรู้การดูแลตนเองและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ:
สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ.
สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสริม ทัศศรี. (2545). การสร้างเกณฑ์ปกติโดยใช้วิธีกําลังสองต่ําสุด เอกสารประกอบการสัมมนาการวิจัย การ
วัด และการประเมินผลการศึกษา. สงขลา: ภาควิชาการประเมินผลและวิจัยคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อังศินันท์ อินทรกําแหง. (2556). การสังเคราะห์และการพัฒนาตัชนีวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยอายุ
15 ปีขึ้นไป ในการส่งเสริมด้านอาหาร ออกกําลังกาย จัดการอารมณ์ งดสุราและสูบบุหรี่. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
Baker, D. W., Williams, M. V., Parker, R. M., Gazmararian, J. A., & Nurss, J. (1999). Development
of a brief test to measure functional health literacy. Patient Education and Counseling,
38(4), 33- 42.
Devis, T., Crouch, M., Will, G., & Miller, S. (1991). Rapid assessment of literacy levels of adult
primary care patients. Family Medicine, 23(4), 433-435.
Edwards, M., Wood, F., Davies, M., & Edwards, A. (2012). The development of health literacy
in patients with a long term health condition: The health literacy pathway model. BMC
Public Health, 12(7), 130.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data
Analysis 6thed. NewJersey: Pearson Prentice Hall.
Jones, J. M., & Jones, K. D. (1997). Promoting physical activity in the senior years. Journal of
Gerontological Nursing, 23(7), 41-48.
Mancuso, J. M. (2009). Assessment and measurement of health literacy: An integrative review
of the literature. Nursing and Health Sciences, 11(5), 77-89.
Norman, C. D., & Skinner, H. A. (2007). e-HEALS: The health literacy scale. J Med Internet Res,
8(13), 27-32.
Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary
health education and communication strategies into the 21st
century. Health
Promotion International, 15(3), 259-267.
Nutbeam, D. (2008). The evolving concept of health literacy. Social Science & Medicine, 67,
2072-2078.
Nutbeam, D. (2009). Defining and measuring health literacy: What can we learn from literacy
studies?. International Journal of Public Health, 54(10), 303-305.
Parker, R. M .(1995). The test of functional health literacy in adults: A new instrument for
measuring patient’s literacy skills. JGIM, 10(18), 537-541.
Pender, N. J. (1996). Health Promotion in Nursing Practice. (3rded.). NewYork : Appleton and
Lange.
World Health Orgranization, (1998). Health literacy. Health Promotion Glossary, 10.
World Health Orgranization, (2009). Health Literacy and Health Promotion : Definitions
Concepts and Examples in the Eastern Mediterranean Region. Individual
Empowerment Conference Working Document. 7th Global Conference on Health
Promotion Promoting.

Downloads

Published

2017-12-04