Effects of 12 Weeks Aerobic Exercise by Applied Sakon Nakhon Traditional Thai Boxing Dance Exercise Program on Insulin Resistance and Lipid Profiles in Thai Elderly Females (ผลของการฝึกออกกำลังกายด้วยโปรแกรมมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์ใน 12 สัปดาห์ต่อระดับคว

Authors

  • Teera Piwngern (ธีระ ผิวเงิน) Graduate School, Khon Kaen University
  • Dr.Tunda Suttitum (ดร.ธัญดา สุทธิธรรม)
  • Orapin Pasurivong (อรพิน ผาสุริยวงษ์)

Keywords:

Sakon Nakhon Tradition Thai Boxing dance (SNTB) (การออกกำลังกายด้วยท่ารำมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์), Insulin resistance (ระดับความดื้อต่ออินซูลิน), Lipid profile (ไขมันในเลือด), Aerobic exercise (การออกกำลังกายแบบแอโรบิก), Elderly (วัยสูงอายุ)

Abstract

Older people showed risk of various chronic diseases, such as diabetes mellitus, hypertension, atherosclerosis and stroke. However, it was believed that aerobic exercise might be improved those. So the objective of this study was to investigate insulin resistance and lipid profiles after 12 weeks of applied Sakon Nakhon Traditional Thai Boxing dance (SNTB) exercise training in Thai elderly female aged between 61-70 years old.  All of volunteer subjects had body mass index  (BMI) 23.0-29.9 kg/m2 with good health, no chronic disease, no infection, and agreed to sign in consent form. They were divided into 2 groups; control group (n=15) and applied SNTB-exercise group (n=15). In control subjects behaved as their normal lifestyles while applied SNTB-exercise subjects were assigned applied SNTB aerobic exercise 30 min/session (5 min warm up, 20 min exercise of 60-75% HRmax and 5 min cool down)  3 days/week in 12 consecutive weeks. Results of fasting blood sugar (FBS), Insulin, HOMA-IR and lipid profiles such as  high density lipoprotein-cholesterol (HDL-C), Low density lipoprotein-cholesterol (LDL-C),  cholesterol (C) and triglyceride (TG) were assessed, In elderly control group, insulin, HOMA-IR and lipid profiles showed no significant difference. While FBS showed increase in high significant difference (p<0.01). In regard to elderly exercise groups, insulin and HOMA-IR showed decrease in highly significant difference (p<0.001). FBS showed decrease high significant difference (p<0.01). Cholesterol and triglyceride decreased significant difference (p<0.05). while HDL-C and LDL-C showed no significant difference. In conclusion, effect of 12 weeks aerobic exercise by SNTB exercise training could improve insulin resistance and decrease cholesterol and triglycerides that were risk of chronic diseases including diabetes mellitus, atherosclensis, hypertension and stroke. Therefore, Applied SNTB exercise program was useful as health promotion exercise program in Thai elderly female.

วัยสูงอายุเป็นวัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังในหลายๆโรคเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดแดงแข็งตัวโรคหลอดเลือดสมอง วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษา ผลของการฝึกออกกำลังกายด้วยโปรแกรมมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์ใน 12 สัปดาห์ต่อระดับความดื้อต่ออินซูลินและไขมันในเลือดในหญิงไทยวัยสูงอายุ อายุระหว่าง 61-70 ปี มีค่าดัชนีมวลกาย 23.0-29.9 กก./ตรม. จำนวน 30 คน สุขภาพทั่วไปแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีโรคติดต่อหรือโรคเรื้อรังร้ายแรงใด ๆ เป็นอาสาสมัครที่ถูกคัดเลือกเข้าทำการศึกษาวิจัยในครั้งนี้โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มควบคุม (n=15)ให้ดำเนินชีวิตด้วยความปกติ ส่วนกลุ่มออกกำลังกาย (n=15) จะได้รับการฝึกด้วยท่ารำมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มควบคุมค่า อินซูลิน HOMA-IR และค่าไขมันในเลือด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพบเพียงค่า ระดับน้ำตาลในเลือดที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p<0.01) ส่วนในกลุ่มทดลองค่า อินซูลิน และ HOMA-IR มีการเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p<0.001) ค่าระดับน้ำตาลในเลือดเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p<0.01) และค่า คลอเรสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ เปลี่ยนแปลงลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p<0.05) ในขณะที่ค่า ไขมันในเลือดชนิดดี และ ค่าไขมันชนิดเลว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสรุป ผลของการฝึกการออกกำลังกายแบบแอโรบิคด้วยโปรแกรมมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์สามารถลดระดับความดื้อต่ออินซูลิน คลอเรสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ซึ่งเสียงต่อโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงและ หลอดเลือดแดงแข็งตัว ดังนั้นโปรแกรมมวยไทยโบราณสกลนครประยุกต์เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการส่งเสริมสุขภาพในหญิงไทยวัยสูงอายุได้

Downloads

Additional Files

Published

2017-09-14

Issue

Section

บทความวิจัย