ห้องสมุดมีชีวิต : ใคร อะไรมีชีวิต?

Authors

  • ยุพิน เตชะมณี รองศาสตราจารย์กลุ่มวิชาการจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ คณบดีวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Abstract

บทคัดย่อ

บทความนี้นำาเสนอนิยามของ “ห้องสมุดมีชีวิต” ตามความคิดของนักวิชาการซึ่งตีความหลากหลายและยังไม่มีนิยามและรูปแบบของห้องสมุดมีชีวิตของไทยที่เป็นที่ยอมรับในวิชาชีพสารสนเทศและห้องสมุดในประเทศไทย ในขณะที่แนวคิดของตะวันตก “ห้องสมุดมีชีวิต” หมายถึงหนังสือมีชิวิต หนังสือมนุษย์หรือสมุดมนุษย์ที่คนตัวเป็นๆ ถูกนำามาใช้เป็นหนังสือให้ผู้ใช้บริการได้พูดสนทนาซักถามข้อคาใจเพื่อขจัดหรือลดอคติหรือความเกลียดชังที่มีต่อกัน แนวคิดนี้กำาเนิดในประเทศเดนมาร์กและเผยแพร่เข้าไปในทุกทวีปรวมทั้งในประเทศไทย นอกจากนี้สาระสำาคัญที่นำเสนอในบทความ คือ มุมมองและข้อเสนอแนะของผู้เขียนในการพัฒนาให้ห้องสมุดเป็นสถาบันสังคมที่จำาเป็นสำาหรับการดำเนินชีวิตของคนในสังคม

 

Abstract

Presented in this article are many definitions of “living library”, given by a number of Thai academics.Not a single definition or model of a living library has been accepted as a working definition or model inThailand. In the western concept, a “living library” means a living book, human book, or human library, wherehuman begins are borrowed as books. These living books are used as a tool to get rid of prejudice, hatredand conflicts. The western concept was originated in Denmark and has reached all continents, includingThailand. In addition, the author’s viewpoints and recommendations for developing a “living library” to bea truly necessary social institution is presented.

Downloads

How to Cite

เตชะมณี ย. (2013). ห้องสมุดมีชีวิต : ใคร อะไรมีชีวิต?. Journal of Information Science Research and Practice, 28(2), 61–72. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/6387

Issue

Section

Research Article