SME รุ่นใหม่ ทันสมัย ด้วยสังคม Cashless Economy

Main Article Content

Kittisak Ungkanawin

บทคัดย่อ

          การวิจัย  “เรื่อง SME รุ่นใหม่ ทันสมัย ด้วยสังคม Cashless Economy” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในเพื่อวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการธุรกิจSME ในสังคม  Cashless Economy เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของตัวแบบสมการโครงสร้างของธุรกิจSME ในสังคม  Cashless Economy และเพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการธุรกิจ SME ในสังคม Cashless Economy


          ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บริการธุรกิจ SME ในสังคม Cashless  Economy ส่วนใหญ่ผู้ใช้บริการธุรกิจ SME สั่งซื้อสินค้าออนไลน์ สัปดาห์ละ2 ครั้ง การชำระเงินการซื้อสินค้าออนไลน์ด้วยแอปพลิเคชั่น  ส่วนใหญ่ทุกครั้งที่ใช้บริการชำระค่าบริการด้วยเงินอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่ทุกครั้งที่ใช้บริการ  อุปกรณ์ในการใช้สั่งซื้อสินค้าหรือบริการ  ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือ/แท็ปเล็ท ระยะเวลาในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ  ส่วนใหญ่เวลา 18.00 – 24.00  น. จำนวนสินค้าที่เลือกซื้อในแต่ละครั้ง ส่วนใหญ่จำนวน 4 – 6 ชิ้นการเลือกใช้บริการซื้อสินค้าออนไลน์ส่วนใหญ่เพราะประหยัดเวลาในการเลือกซื้อสินค้าสินค้าที่เลือกซื้อส่วนใหญ่ เป็นเสื้อผ้า คุณภาพสินค้าที่ได้รับจากการซื้อสินค้าออนไลน์  ส่วนใหญ่ดี ผลการวิเคราะห์แรงจูงใจในการใช้บริการธุรกิจ SME ในสังคม  Cashless  Economy ส่วนใหญ่เพราะมีส่วนลดทางการค้ามากกว่าการซื้อสินค้าจากหน้าร้าน สินค้าที่ได้รับ  สวยงาม เหมาะสมราคา ประหยัดเวลา การจัดส่งสินค้ารวดเร็ว  มีหลายช่องทางในการเลือกซื้อ  มีสินค้าให้เลือกหลากหลาย  ได้สินค้าตามที่ต้องการมีประสิทธิภาพ  สามารถทำการเลือกซื้อสินค้าได้ง่าย  มีช่องทางการชำระเงินหลายช่องทาง  และสะดวกรวดเร็ว ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของธุรกิจ  SME  ในสังคม  Cashless  Economy  ส่วนใหญ่ทำให้ธุรกิจมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ  ทำให้ธุรกิจสามารถดูแลผู้บริโภคได้ทั่วถึง  ทำให้ธุรกิจเข้าใจผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น  ผลการวิเคราะห์ระดับแรงจูงใจในเพื่อวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการธุรกิจ SME ในสังคม Cashless Economy โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบจำลองสมการโครงสร้าง  ค่าน้ำหนักของตัวแปรสังเกตได้  ในแต่ละปัจจัยแฝง  และค่าสัมประสิทธิ์เส้นระหว่างปัจจัยแฝงค่าดัชนีในการวัดความเหมาะสมของแบบจำลอง  ได้แก่  x2 / df = 13 , GFI = .984 , RMSEA = .029 , RMR = .003 , NFI = .9995 , CFI = .999 และ  p = .008  ซึ่งมีค่าใกล้เคียงเกณฑ์ที่ยอมรับได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

References
Angsuchot, S., Vijitwarn S. & Pinyopanupawat, R. (2012). Analytical Statistics for Social Science Research and Behavioral Sciences: Techniques for Using LISREL Programs. Bangkok: Mission Media. 2(2), 173-186.
Chuchuet, P. (2016). The application of 3G (4G) or high-speed internet communication technology in teaching and learning in the 21st century. (Research Report) Faculty of Business Administration, Chulalongkorn University. 6, 53–60.
Kanchanasai, S. (2011). Applied Statistics for Research. 3rd edition, Bangkok: Chulalongkorn University Press. 8(2), 56-66.
Kongcharean, W. (2015). Adoption factors influencing customer satisfaction for Bank through mobile phone in Bangkok. Master of Business Administration, Graduate School Bangkok University. 2(1), 34-44.
Office of Small and Medium Enterprises Promotion. (2011). Small and Medium Enterprises in Bangkok. (Report). Bangkok: NP. 4, 100-115.
Phetroj, L. & Chamnianprasat, A. (2014). Research Methodology. Bangkok: Primdee Press
Rangsungnoen, K. (2011). Factor Analysis with SPSS and AMOS for Research. Bangkok: SE-EDUCATION. 2, 12-19.
Suknirun, S. (2007). The performance of employees of Provincial Electricity Authority, Region 1 (Southern) in Phetchaburi province. Thesis in General Management, Phetchaburi Rajabhat University. 3(1), 67-77.
Wanitbuncha, K. (2012). Statistics for Research Bangkok (6th Ed.): Chulalongkorn University Press.
Wiratchai, N. (2011). LISRELL Model Statistical Analysis for Research. Bangkok: Chulalongkorn University.3, 45-50.