การนำนโยบายด้านความยั่งยืนทางการเงินไปสู่การปฏิบัติของบุคลากร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

Authors

  • กวิน ปลาอ่อน งานแผนและพัฒนาคุณภาพ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

Keywords:

Financial Sustainability, Policy Implementation, Cost Control

Abstract

This research aims to study the financial sustainability policy implementation of the Mahidol University International College staff. The sample group was composed of 201 MUIC staff members. A questionnaire was used for collecting data. Statistics used for data analysis consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation and comparison between samples by one-way analysis of variance (one-way ANOVA). The results found that MUIC staff implemented the financial sustainability policy at a high level. They mostly implemented the policy by contributing to MUIC with high performance. MUIC staff members from different departments have different levels of policy implementation in three processes; controlling costs, earning extra income, and managing budgets efficiently at a significance level of 0.05. The results from this study can be used for financial sustainability policy implementation improvement.

References

1. โพสต์ทูเดย์. หลักสูตรอินเตอร์ ทางเลือกอนาคตของเด็กไทย [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 3 เมษายน 2561].เข้าถึงได้จาก:https://www.posttoday.com/life/life/515401
2. Thanyawat Ippoodom.วิกฤติมหาวิทยาลัยไทยเมื่อสถาบันการศึกษาทำสงครามแย่งชิงนักเรียนเพื่อการอยู่รอด [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 3 เมษายน 2561].เข้าถึงได้จาก:https://thematter.co/pulse/war-of-thai-university/25611
3. วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. รายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศ 2560. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561.
4. วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล.แผนปฏิบัติการและรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2560. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2560.
5. วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. แผนปฏิบัติการและรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2561. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561.
6. ทรงธรรม สุขสว่าง และทวีหนูทอง. การประเมินความยั่งยืนด้านการเงินเพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 8 มิถุนายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.th.undp.org/content/dam/thailand/docs/Financial%20Scorecard.pdf
7. Yamane, Taro. Statistics: An Introductory Analysis. 3rded. New York: Harper and RowPublication; 1973.
8. วรรณา จีรุพันธ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ: ศึกษากรณีนโยบายแก๊สโซฮอล์. [วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2551.
9. อลิสรา กังวล. การนํานโยบายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินไปปฏิบัติ ศึกษากรณีธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน). [วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต].นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์; 2559.
10. กวิน ปลาอ่อน. การรับรู้และเข้าใจเรื่องทิศทางองค์การของบุคลากร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceeding) การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2561 เรื่อง น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 9 พฤษภาคม 2561]; 10:1591-8. เข้าถึงได้จาก: https://dept.npru.ac.th/conference10/
11. กวิน ปลาอ่อน. ผลของการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ต่อการรับรู้และการนำแผนปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติของพนักงานสายสนับสนุน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. Mahidol R2R e-Journal [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 9 พฤษภาคม 2561];4:240-58.เข้าถึงได้จาก:https://www.r2r.mahidol.ac.th
กรอบแนวคิดการวิจัย

Downloads

Published

2018-07-23