กิจกรรมบทบาทสมมติ (Role Play) กับการประยุกต์สู่การสอนพูดภาษาอังกฤษ

ผู้แต่ง

  • ภัทรลดา วงษ์โยธา
  • แสงอาทิตย์ ไทยมิตร

คำสำคัญ:

กิจกรรมบทบาทสมมติ, การประยุกต์, การสอนพูดภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

ของผู้เรียนให้ก้าวหน้า ในประเทศที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมักจะประสบกับปัญหาผู้เรียนไม่สนใจขาดแรงกระตุ้นการเรียน เนื่องจากโอกาสที่จะใช้ภาษาอังกฤษนอกห้องเรียนมีน้อย ผู้เรียนขาดแรงจูงใจในการฝึกพูดภาษาอังกฤษ รวมทั้งกิจกรรมที่นำมาใช้ในห้องเรียนที่ไม่น่าสนใจ ดังนั้นผู้เขียนจึงมีความสนใจศึกษากิจกรรมบทบาทสมมติ (Role Play) ในการนำมาประยุกต์สู่การสอนพูดภาษาอังกฤษ ซึ่งกิจกรรมบทบาทสมมติเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษา โดยผู้เรียนต้องทำกิจกรรมอย่างมีความหมายและผลลัพธ์ของกิจกรรมจะเป็นสิ่งประเมินความสามารถในการใช้ภาษาซึ่งเป็นภาษาที่เกิดขึ้นจริงในสังคม (Skehan, 1998: 213)  นอกจากนี้ การส่งเสริมให้ผู้เรียนนำภาษาไปใช้ประโยชน์ โดยที่นักเรียนจำเป็นต้องเข้าใจภาษาและสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเป็นการสร้างความรู้สึกเชิงบวกในการเรียนภาษาอังกฤษอีกด้วย (Krashen, 1987: 21)

References

Barrows, J., & Zone, J. (1983). Fifteen concise role play sand how to use them. English Teaching Forum, 21(1), 11.

Krashen. (1987). Theoritical research and second language acquisition theory. Sydney: Newbery House.

Ladousse, G. P. (1987). Role-play. Oxford: Oxford University Press.

Livingstone, C. (1983). Role play in language learning. New York: The Printed House.

Ments, V.(1999). The effective use of role play: practical techniques for improving learning. London: Kogan page.

Skehan, P. (1998). Task based instruction. In W. Grahe (Ed.), Annual Review Of Applied Linguistics. Cambridge: Cambridge University Press.

Tayler, J. L., & Walford, R. (1974). Simulation in the classroom. Middlesex. Marmonsworth: Pegnuin Book.

Vallette, R. M. (1977). Modern language testing. New York: Harcout Brace Jovanovich.

Via,R. A.(1987).Learning by doing. Methods and Techniques That Work, 52(2). January.

Ur, P. (1998a).Teaching listening comprehension. London: Cambridge University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30