ตัวแบบนำเข้าข้อมูลและสารสนเทศซิกซ์ซิกม่า สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน โรงงานซ่อมบำรุงปืน

ผู้แต่ง

  • Ongart Butrat

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบตัวแบบนำเข้าข้อมูล สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อม
บำรุงปืน โรงงานซ่อมบำรุงปืน 2) ออกแบบสารสนเทศซิกซ์ซิกม่า สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน
โรงงานซ่อมบำรุงปืน 3) ประเมินการยอมรับตัวแบบนำเข้าข้อมูล สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน
โรงงานซ่อมบำรุงปืนของผู้ใช้ตัวแบบนี้ 4) ประเมินการยอมรับสารสนเทศซิกซ์ซิกม่า สำหรับช่วยลด
ข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน โรงงานซ่อมบำรุงปืนของผู้เกี่ยวข้อง
เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย 1) ตัวแบบนำเขา้ ขอ้ มูลและสารสนเทศซิกซซ์ ิกมา่ สำหรับชว่ ยลดขอ้ ผิดพลาด
การซ่อมบำรุงปืน จำนวน 8 ฉบับ และ 11 ฉบับตามลำดับ 2) แบบประเมินการคาดหมายข้อผิดพลาด
ที่ลดลงในการซ่อมบำรุงปืน 3) แบบประเมินการยอมรับตัวแบบนำเข้าข้อมูลและสารสนเทศซิกซ์ซิกม่า
สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน ประชากรที่ศึกษาประกอบด้วย ช่างปืน 5 คน และ ผู้เกี่ยวข้อง
จำนวน 25 คน รวม 30 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติทดสอบไค-สแควร์
ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแบบนำเข้าข้อมูล สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน สามารถลด
ข้อผิดพลาดในการซ่อมบำรุงปืนได้ โดยผู้ใช้ทั้งหมดคาดหมายความผิดพลาดในการซ่อมบำรุงปืน ที่ระดับ 6
ตามมาตรฐานคุณภาพซิกซ์ซิกม่า 2) สารสนเทศซิกซ์ซิกม่า สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน
สามารถลดข้อผิดพลาดในการซ่อมบำรุงปืนได้ โดยผู้เกี่ยวข้องคาดหมายความผิดพลาดในการซ่อมบำรุงปืน
ที่ระดับ 2.83 ตามมาตรฐานคุณภาพซิกซ์ซิกม่า 3) ผู้ใช้ตัวแบบนำเข้าข้อมูล สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการ
ซ่อมบำรุงปืน ส่วนใหญ่ให้การยอมรับตัวแบบนำเข้าข้อมูลมากกว่าผู้ไม่ยอมรับแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต
ที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยการยอมรับเท่ากับ 4.37 ซึ่งถือได้ว่าเป็นการยอมรับระดับมาก ตามมาตรา
แบบลิเคิร์ท และ 4) ผู้เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศซิกซ์ซิกม่า สำหรับช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน
ส่วนใหญ่ให้การยอมรับสารสนเทศมากกว่าผู้ไม่ยอมรับ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05
โดยมีคะแนนการยอมรับเฉลี่ย เท่ากับ 4.28 เป็นการยอมรับในระดับมาก ตามมาตราแบบลิเคิร์ทข้อค้นพบของการวิจัยครั้งนี้ คือ การนำวิธีคุณภาพซิกซ์ซิกม่า มาใช้ในการพัฒนาตัวแบบนำเข้าข้อมูล
และสารสนเทศเพื่อช่วยลดข้อผิดพลาดการซ่อมบำรุงปืน ซึ่งจะเป็นแนวทางสำหรับการซ่อมอาวุธอื่นๆ ต่อไป

References

กรมยุทธศึกษาทหารเรือ. (2529). คู่มือระบบการซ่อมบำรุงตามแผน. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒาอินเตอร์พริ้นท์.

กิตติมา เจริญหิรัญ. (2555). ส่วนต่อประสานผู้ใช้และการออกแบบส่วนนำเข้าและออกของข้อมูล.

ค้นเมื่อ 17 มกราคม 2555, จาก http://202.44.68.40/contents/bcs/god2/con-07.doc

จารึก ชูกิตติกุล. (2551). เทคโนโลยีและยุทธศาสตร์สารสนเทศ : ปรัชญา สาระ และวิทยานิพนธ์.
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีชั้นสูง. (ฉบับที่ 9 เดือนตุลาคม). 1-12.

โชค โตทรัพย์. (2554). การพัฒนาเว็บไซต์สำหรับผู้พัฒนาคนเดียวโดยวิธีพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ
ซิกซ์ซิกม่า. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและยุทธศาสตร์สารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

ทิวัตถ์ มณีโชติ. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้. ค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2555, จาก http://ird.rmuti.ac.th/
newweb/fmanager/files/2Tiwat.doc

นฤมล อทะจา. (2550). การลดผลิตภัณฑ์ที่มีข้อบกพร่องในกระบวนการผลิต เมมเบรน สวิตช์ โดย
การประยุกต์ใช้แนวทางซิกช์ซิกมา. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เพ็ญธิดา หงษ์ยนต์. (2552). เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สอนหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเรื่องกาลระดับ
เบื้องต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ศึกษา
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

วชิรพงษ์ สาลีสิงห์. (2548). การปฏิวัติกระบวนการทำงานด้วยเทคนิค Six Sigma. พิมพ์ครั้งที่ 1.

วรชัย เยาวปาณี. (2550). วิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. เพชรบุรี :
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

__________. (2550). วิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี.

__________. (2552). การควบคุมคุณภาพทางสถิติ. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพชรบุรี, 463-491.

วรภัทร์ ภู่เจริญ กาญจนา สร้อยระย้า และธนกฤต จรัสรุ่งชวลิต. (2546). ชำแหละ SIX SIGMA.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.

วสันต์ พุกผาสุก และอรรถกร เก่งพล. (2551). การลดของเสียจากกระบวนการชุบโครเมียม โดยประยุกต์ใช้
วิธีการซิกซ์ซิกม่า กรณีศึกษาบริษัทในอุตสาหกรรมชุบโครเมียม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ. 18 (2). 33-42.

สิทธิศักดิ์ พฤกษ์ปิติกุล. (2548). การพัฒนาคุณภาพแบบก้าวกระโดดด้วยวิธี SIX SIGMA.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ส.ส.ท.สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2555. ออนไลน์ http://ird.rmuti.
ac.th/newweb/fmanager/files/2Tiwat.doc

อาร์ คาวานาซ และคนอื่นๆ. (2548). เส้นทางสู่ SIX SIGMA. (สุพจน์ รัตนาพันธุ์. ผู้แปล). กรุงเทพฯ :
ท้อป.

Brue, Carlo. (2005). Six Sigma for Managers. New York : McGraw-Hill.

Ghezzi, Carlo. (2003). Software Engineering. Harlow : Pearson Education.

Pande, P. S. and L. Holpp. (2002). What is Six Sigma?. New York : McGraw-Hill.

Laudon, Kenneth C. & Laudon, Jane P. (2006). Management Information Systems : Managing
the Digital Firm. 9th ed. New Jersey : Pearson Prentice Hall.

Rogers and Shoemaker. (1971). Communication of Innovation : a cross-cultural approach.
New York : The Free Press.

Tayntor, Christine B. (2003). Six Sigma Software Developmaent. New York : Auerbach.

Thierauf, Robert J. (1986). System Analysis and Design. Ohio : Merrill Publishing.

Hayler & Nichols. (2006). What is Six Sigma Process Management?. (ไพโรจน์ บาลัน
และวิทยา สุหฤดำรง. ผู้แปล). กรุงเทพฯ : อี.ไอ.สแควร์ พับลิชชิ่ง.

Pande & Holpp. (2002). Six Sigma กลยุทธ์การสร้างผลกำไรขององค์กรระดับโลก. (วิทยา สุหฤทดำรง
และก้องเชา บ้านมะหิงษ์. ผู้แปล). กรุงเทพฯ : ท้อป.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-06-2018

How to Cite