ผลกระทบของความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในวิชาชีพ ของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ผู้แต่ง

  • Boonchaung Srithonrach

คำสำคัญ:

ความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชี, ความสำเร็จในวิชาชีพ, นักบัญชีบริษัท

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อทดสอบผลกระทบของความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในวิชาชีพของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 125 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีด้านการแก้ไขปัญหามีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพโดยรวมมากที่สุด รองลงมาคือ ความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีด้านทักษะภาษาต่างประเทศ มีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพโดยรวม ความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีด้านการปรับปรุงงานและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพโดยรวมและความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีด้านความรู้ในสายอาชีพ มีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพ และต่ำที่สุดคือ  ความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ มีผลกระทบเชิงบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพโดยรวม

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2559). ฐานข้อมูลสู่ธุรกิจ. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559, จาก
https://knowledgebase.dbd.go.th/DBD/Main/login.asp

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). สถิติสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขวัญสกุล เต็งอำนวย. (2557). บัญชีขั้นต้นสำหรับผู้มิใช่นักบัญชี. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คณะกรรมการวิชาชีพบัญชี. (2559). การมุ่งสู่นักบัญชีมืออาชีพ. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559,
จาก https://www.fap.or.th

จ๊อบดีบี. (2560). คุณสมบัตินักบัญชี AEC. สืบคน้ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2560, จาก https://www.jobsdb.com
ชนาธิป สุริยะงาม. (2555). ผลกระทบความเป็นเลิศทางการบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในวิชาชีพของนักบัญชี
ธุรกิจอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นฤมล สุมรรคา. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของบุคลากรทางการบัญชีเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน: กรณีศึกษาสถานประกอบการจังหวัดสระบุรี. การศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (การบัญชี).
ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

นุชจรี พิเชฐกุล. (2558). รายงานทางการเงินและการวิเคราะห์งบการเงิน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:
ทีพีเอ็น เพรส.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปรัศนี กายพันธ์ และนธี เหมมันต์. (2558). นักบัญชีไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารการจัดการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 3(3): 14-21.

พสุ เดชะรินทร์. (2560). นักบัญชี: บทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2560, จาก www.
Bangkokbiznews.com

สมชาติ กิจยรรยง. (2544). ทางลัดสู่ยอดนักขาย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สุจิตรา ประคองศรี. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะทางการบัญชีสมัยใหม่กับความสำเร็จในวิชาชีพ
ของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.

สุวัจณีย์ จันทนา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทางบัญชีกับความสำเร็จในงานของนักบัญชีสหกรณ์
การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์ บช.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.

Aker, D.A. Kumer and G.S. Day. (2001). Marketing Research. 7thed. New York: John Wiley
& Sons.

Black, K. (2006). Business Statistics For Contemporary Decision Making. 4th ed. USA:
John Wiley & Sons.

Deporter, B. (2000). The 8 Keys of Excellence: Principles to Live By. FL: Forum Learning.
Nunnally, J. C. (1978). Psychomrtric Theory. 2nd ed. New York: McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-07-2018

How to Cite