กลวิธีการสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ

Main Article Content

กิ่งกาญจน์ บูรณสินวัฒนกุล

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้นำเสนอแนวคิดการสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารให้แก่ผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษา ต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษา ต่างประเทศสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ ตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ความสามารถด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอน แบบเน้นประสบการณ์ (Experience - Based Approach) ร่วมกับแนวคิดการสอนแบบอัตถภาค (Genre - Base Approach) เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทยมากขึ้น


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
บูรณสินวัฒนกุล ก. (2018). กลวิธีการสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18(2), 164–178. https://doi.org/10.14456/lartstu.2018.17
บท
บทความวิชาการ
Author Biography

กิ่งกาญจน์ บูรณสินวัฒนกุล, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Bachelor of Education Program in Thai (5 year), Faculty of Hummanities, Srinakharinwirot University

ประวัติการศึกษา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต            สาขาหลักสูตรและการสอน             มหาวิทยาลัยศิลปากร

                                           (กลุ่มการสอนภาษาไทย)

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต    สาขาการสอนภาษาไทย                   มหาวิทยาลัยศิลปากร

การศึกษาบัณฑิต                  สาขาภาษาไทย                             มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

References

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (2552). การจัดหลักสูตรการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วรรณวิทัศน์, 9, 107-120.

ปรียา หิรัญประดิษฐ์. (2545). สถานภาพการเรียน และการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ ในประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มีชัย เอี่ยมจินดา. (2548). การเรียนรู้ภาษาที่สอง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2(2), 54-61.

รุ่งฤดี แผลงศร. (2560). ศาสตร์การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิโรจน์ อรุณมานะกุล. (2559). ทฤษฎีภาษาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2561 จาก http://pioneer.chula.ac.th/~awirote/courses/ling-theo/lingtheo58.pdf

ศรีวิไล พลมณี. (2545). พื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2544). ภาษาไทยยุคปี 2000. มนุษยศาสตร์สาร, 2(1), 43-55.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2556). การสอนภาษาฝรั่งเศสในฐานภาษาต่างประเทศ: แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2536). การพัฒนาการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาเล่ม 3. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง.

อรุณี วิริยะจิตรา. (2532). การเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

Brown, D. H. (2007). Principles of language learning and teaching (4th ed.). White Plains, NY: Longman.

Canale, M., & Swain, M. (1980). Theoretical bases of communicative approaches to second language teaching and learning. Applied linguistics, 1, 1-47.

Chomsky, N. (1957). Syntactic structures. The Hague: Mouton.

Dewey, J. (1938). Experience & education. New York, NY: Kappa Delta Pi.

Dobson, J. M. (2003). Teaching Strategies 1 for the Teaching of Communication Arts: Listening, Speaking, Reading and Writing (3rd ed.). Makati: Katha

Frances, C. (1989). Language development in education. In R. Hasan & J.R. Martin (Eds.), Language development: Learning language, learning culture. meaning and choice in language (pp. 152-198). Norwood, NJ: Ablex.

Halliday, M. A. K. (1973). Explorations in the functions of language. London: Edward Arnold.

Kolb, D. A. (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Krashen, S. D., & Terrell, T. D. (1983). The natural approach language acquisition in the classroom. Hayward, CA: The Alemany Press.

Kurse, K. (2014). Introduction to instructional design and the addie model. Retrieved November 3, 2014 from https://www.e-learninggguru.com/articles/art_2l.htm