EFFICACY OF WALK, ADDRESS, LEARN AND CUE (WALC) EXERCISE PROGRAM FOR SCHIZOPHRENIA (ประสิทธิผลของโปรแกรมออกกำลังกาย ดับเบิลยู เอ แอล ซี ในผู้ป่วยจิตเภท)

Authors

  • Thanawadee Tipmongkol
  • Chintana Leelakraiwan

Keywords:

schizophrenia, WALC intervention จิตเภท โปรแกรม ดับเบิลยู เอ แอล ซี

Abstract

This quasi-experimental research aimed to study the effect of WALC intervention on self - effcacy to regulated exercise and weight loss. Subjects in this study were thirty rehabilitation schizophrenia patients at hopeless home Ban Metta Nachon Ratchasima institution. The group was divided equally into two groups : experimental and control groups with were enrolled for 12 weeks. The instruments used in this study were demographic data record form , Self - Efticacy to regulated exercise scale and the WALC intervention program. Data analysis through independent t-test was used to compare between groups, and paired t-test was used to compare before and after the experiment. The result of the study indicated that the experimental group was able to achieve a better score of exercise tolerance compared to the controlled group at a statistically signifcant difference (t = -9.926, P<0.05). Morever, the experimental group was able to achieve a greater weight reduction compared to the controlled group at a statistically signifcant difference (t = -5.185, P<0.05) Also it was noted that the experimental group was able to adhere to a regular habit with the exercise program (P<0.05)

การศึกษาวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมออกกำาลังกาย ดับเบิ้ลยู เอ แอล ซี ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการควบคุมการออกกำาลังกายและการลดลงของนำ้าหนักตัว กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจิตเภทระยะฟื้นฟูสมรรถภาพในสถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งบ้านเมตตานครราชสีมา จำานวน 30 คน ทำาการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน ใช้ระยะเวลาในการดำาเนินการตามโปรแกรม 12 สัปดาห์ เครื่องมือการประเมินประกอบด้วย การประเมินการรับรู้ความสามารถของตนในการควบคุมการออกกำาลังกาย การประเมินนำ้าหนักตัวหลังการทดลอง และการบันทึกผลการออกกำาลังกาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติทดสอบค่าที Independent t-test ในการทดสอบระหว่างกลุ่มและ Paired t-test ทดสอบก่อนและหลังการทดลองภายในกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนในการควบคุมการ ออกกำาลังกายเพิ่มสูงขึ้น (t = -9.926, P < 0.05) และมีค่าเฉลี่ยนำ้าหนักตัวลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (t = -5.185, P < 0.05) และกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการออกกำาลังกาย อย่างสมำ่าเสมอมากกว่ากลุ่มควบคุม

Downloads

Published

2012-06-16

How to Cite

1.
Tipmongkol T, Leelakraiwan C. EFFICACY OF WALK, ADDRESS, LEARN AND CUE (WALC) EXERCISE PROGRAM FOR SCHIZOPHRENIA (ประสิทธิผลของโปรแกรมออกกำลังกาย ดับเบิลยู เอ แอล ซี ในผู้ป่วยจิตเภท). JNSH [Internet]. 2012 Jun. 16 [cited 2024 Apr. 18];35(1):47-5. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/1898