HEALTH PROFILE OF OLDER PERSONS IN HEALTH CARE INSTITUTE AND IN COMMUNITY (ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุในสถาบันบริการสุขภาพและในชุมชน)

Authors

  • Pongpan Aroonsang
  • Wanapa Sritanyarat
  • Penchun Lertrat
  • Suthinun Subindee
  • Patama Surit
  • Ampornpan Theeranut
  • Maliwan Silarat
  • Sritian Trisirirat
  • Jiamjit Saengsuwan
  • Prasopsuk Srisanpang

Keywords:

health profile, older person, community, hospital ภาพสุขภาพ ผู้สูงอายุ ในชุมชน ในโรงพยาบาล

Abstract

This descriptive research aimed to study health profile of older persons in a hospital and in a community of Khon Kaen province. The sample comprised of 154 hospitalized older persons admitted in the studied hospital and 308 older persons resided in the studied community. The conceptual framework based on the literature reviewed was used. Data were collected using the questionnaires and the standard instruments. Descriptive statistics were used for data analysis. Results: Demographic data: Older persons of both groups were female, in the young old age group, and had primary education level. Physical health: Older persons in community perceived their health, and their health when compared with others, more than older persons in the hospital. They also had ADL and IADL levels higher than those who were in the hospital. Psychological health and mental status: Older persons in the hospital had depression and dementia more than older persons in the community. Social health: Older persons of both groups had daughters and sons as well as spouses as primary resources in old age and when getting ill. Recommendations: Knowledge regarding health profile of older persons can be used to develop project in order to improve health of each dimension of older persons. Further studies should focus on changes and factors related to health profile of each dimension and in various settings.

การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพสุขภาพของผู้สูงอายุในโรงพยาบาลและในชุมชน จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง 154 คน และที่พักอาศัยในชุมชนแห่งหนึ่ง 308 คน ใช้กรอบแนวคิดที่พัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นร่วมกับแบบประเมินมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา ข้อมูลทั่วไปของ ผู้สูงอายุทั้งสองกลุ่ม พบว่า ส่วนใหญ่เป็นหญิง อยู่ในระยะสูงอายุวัยต้น และมีการศึกษาระดับประถมศึกษา สุขภาพกาย ผู้สูงอายุในชุมชน รับรู้ภาวะสุขภาพตนเองและเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่น และมีความสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำาวันพื้นฐานและต่อเนื่องโดยรวม สูงกว่า ผู้สูงอายุในโรงพยาบาล สุขภาพจิตและสมรรถภาพสมอง ผู้สูงอายุในโรงพยาบาลมีภาวะซึมเศร้า และภาวะสมองเสื่อมมากกว่าผู้สูงอายุในชุมชน และสุขภาพสังคม ผู้สูงอายุทั้งสองกลุ่มยังมีบุตรและคู่สมรสเป็นแหล่งประโยชน์หลักในการดูแลด้านต่างๆ เมื่อสูงวัยและในยามเจ็บป่วย ข้อเสนอแนะ นำาความรู้เกี่ยวกับภาพสุขภาพของผู้สูงอายุไปใช้ในการจัดทำาโครงการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุในมิติต่างๆ และควรศึกษาติดตามการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาพสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละปัญหาสุขภาพ ในมิติและบริบทต่างๆ

Downloads

Published

2013-01-30

How to Cite

1.
Aroonsang P, Sritanyarat W, Lertrat P, Subindee S, Surit P, Theeranut A, Silarat M, Trisirirat S, Saengsuwan J, Srisanpang P. HEALTH PROFILE OF OLDER PERSONS IN HEALTH CARE INSTITUTE AND IN COMMUNITY (ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุในสถาบันบริการสุขภาพและในชุมชน). JNSH [Internet]. 2013 Jan. 30 [cited 2024 Mar. 28];35(2):15-24. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/view/5385