กระบวนการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงปลา 5 ชั้นอิงธรรมชาติ The development process of fish farming in 5 levels of natural

Main Article Content

รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา เลิศไกร

Abstract

กระบวนการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงปลา 5 ชั้นอิงธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อศึกษากระบวนการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงปลาใช้ต้นทุนจากธรรมชาติให้มากที่สุดโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ  (Qualitative Research) โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ถอดบทเรียนการพัฒนาในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยใช้กระบวนการใช้ภูมิปัญญา และการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของปลา และพัฒนารูปแบบการเลี้ยงปลาของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย ผลการวิจัยพบว่า


การจัดการเลี้ยงปลาของเกษตรกร ใช้สภาพพื้นที่ที่เป็นที่ลุ่ม คูคลองในพื้นที่ของครอบครัว ให้มีผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจที่เลี้ยงครอบครัวได้ สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยใช้ประสบการณ์ ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการทดลอง สังเกตติดตามตรวจสอบปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น และใช้ภูมิปัญญาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นการเรียนและพัฒนาด้วยการปฏิบัติจริง เป็นแบบชี้นำตนเอง มีการคิดวิเคราะห์พัฒนารูปแบบวิธีการจัดการด้วยตนเองจนได้รูปแบบของการเลี้ยงปลา 5 ชั้นที่สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติของพื้นที่ 


The purpose of the development process of fish farming in 5 levels of natural was to study the development process of fish farming be using the principal of natural the best. It used the Qualitative Research that has analysis, synthesis and lesson learned visualizing to developing of solving problem. It used the process of intellect and learning about the nature of fish. Then they develop the fish farming pattern for farmer in the target area. The result of this research found that. 

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง
กรมการพัฒนาชุมชน. ( 2549). นวัตกรรมแก้จน เล่มที่ 1:การจัดการความรู้สำหรับนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร:
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.
ปัญญา เลิศไกร. (2552). นวัตกรรมการปลูกปาล์มน้ำมัน ลุ่มน้ำปากพนัง นครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). สาขาการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
ปัญญา เลิศไกร, ลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
ปรีชา สามัคคี และปัญญา เลิศไกร. (2557). การสังเกต 360 องศาเพื่อการวิจัยและพัฒนา. วารสารนาคบุตร
ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(1).
ลัญจกร นิลกาญจน์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(2).
สายันต์ ปานบุตร. (2557, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาองค์ความรู้ด้านธุรกิจเกษตร แบบผสมผสานเพื่อ
พัฒนาวิสาหกิจชุมชน บ้านบางใหญ่ หมู่ที่ 4 ตำบลบางนายสี อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 6(1).
อรวรรณ แซ่อึ่ง หัสชัย สิทธิรักษ์ และลัญจกร นิลกาญจน์ (2559, มกราคม-มิถุนายน). การถอดบทเรียนการ
ผลิตไบโอดีเซลล์จากน้ำมันพืช โรงเรียนบางขันวิทยา อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(1).
Ann R. J. Briggs, Marianne Coleman and Marlene Morrison. (2012). Research Methods in
Educational, Leadership and Management. California: SAGE publication Inc.
David G. Myers. (2005). Social Psychology. New York: Mc Graw Hill.
Ellen Berscheid and Pamela Regan. (2005). The Psychology of Interpersonal Relationships. New York: Pearson.
Gillian Symon and Catherine Cassell. (2012). Qualitative Organizational Research Core Methods and
Current Challenges. California: Sage Publications Inc.
Gordon Rugg and Marian Petre. (2007). A Gentle Guide To Research Methods. New York: Mc Graw Hill.
Kolb, D.K. (1984). Experiential Learning : Experience as the Source of Learning and Development. New
Jersey: Prentice-Hall Inc.
Luis R Gomez-Mejia and David B. Balkin. (2012). Management People Performance Change. New York: Pearson.
Paul D. Leedy and Jeanne Ellis Ormrod. (2015). Practical Research Planning and Design. New York: Pearson