การหกล้มในผู้สูงอายุที่กระดูกพรุน: สาเหตุและการป้องกันด้วยการออกกำลังกาย

Main Article Content

Kunavut Vannajak

บทคัดย่อ

สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว เนื่องด้วยการพัฒนาทางการแพทย์ที่ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาว มีรายงานว่าจะมีผู้สูงอายุมากถึงร้อยละ 18 ในปีพุทธศักราช 2563 ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางการแพทย์มากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม จึงเป็นบทบาทของบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะนักกายภาพบำบัดที่ต้องพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และสิ่งที่ดีที่สุดคือการป้องกัน โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและทางกล้ามเนื้อกระดูก ข้อต่อ และระบบประสาท ที่เสื่อมถอยลงในผู้สูงอายุ ซึ่งหนึ่งในปัจจัยที่เสี่ยงคือ”ภาวะกระดูกพรุน” เสี่ยงต่อการหักเมื่อล้ม ทำให้สูญเสียการเคลื่อนไหว ไม่มั่นใจ กระทบต่อความสามารถในการทรงท่า ทั้งขณะอยู่นิ่งและขณะเคลื่อนไหว ในกิจกรรมที่แตกต่างในการดำรงชีวิตประจำวัน เมื่อทรงท่าได้ไม่ดี จะทำให้เสี่ยงต่อการล้ม ซึ่งอาจจะทำให้กระดูกหัก ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง จึงเป็นที่มาและความสำคัญในการตรวจประเมินการทรงท่าและความเสี่ยงต่อการล้มในผู้สูงอายุที่มีภาวะกระดูกพรุน เพื่อค้นความเสี่ยงแล้ว นำไปสู่การวางแผนการออกกำลังกายด้วยการทรงท่า ป้องกันการล้ม ป้องกันการพิการ ลดภาระการดูแลของบุตร ภาระต่อสังคม และลดค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพจากภาครัฐ

Article Details

บท
บทความพิเศษ (Special Articles)

References

1. World Health Organization. WHO Global Report on Falls Prevention in Older Age. Ageing and Life Course. Family and Community Health 2010; 1-15.
2. สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. สถานการณ์ประชากรผู้สูงอายุ. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ. 2552; 2: 6-10.
3. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. แนวโน้มประชากรสูงอายุ. สรุปผลที่สําคัญการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย 2550; 5-17
4. Miller, C. A. Nursing for Wellness in Older Adults. 5th Ed. Spearhead. 2009.
5. Ryan, R.M. & Frederic, C. On energy, personality, and health: Subject vitality as a dinamic reflecion of well-being. Jounal of personality 1997; 65: 529-65.
6. Kado DM, Huang MH, Karlamangla AS, Barrett-Connor E, Greendale GA. Hyperkyphotic posture predicts mortality in older community-dwelling men and women. a prospective study. J Am Geriatr Soc 2004; 52: 1662-67.
7. Sinaki M, Lynn SG. Reducing the risk of falls through proprioceptive dynamic posture training in osteoporotic women with kyphotic posturing. A randomized pilot study. Am J Phys Med Rehabil 2002; 81: 241–6.
8. Takahashi W, Fujii H, Ide M, Takagi S, Shinohara Y. Atherosclerotic changes in intracranial and extracranial large arteries in apparently healthy persons with asymptomatic lacunar infarction. J Stroke Cerebrovasc Dis 2005; 14(1): 17-22.
9. Cotter VT, Strumpf NG, editor. Advanced practice nursing with order adult: Clinical guidelines. New York: Mcgrew-Hill; 2002.
10. สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุไทย นนทบุรี : สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย, โครงการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันภาวะหกล้ม และผลแทรกซ้อนในผู้สูงอายุโดยแพทย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ : the health promotion and prevention of instability and its complication in the elderly by geriatricians กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2544.
11. Kilner PJ, Henein MY, Gibson DG. Our tortuous heart in dynamic mode--an echocardiographic study of mitral flow and movement in exercising subjects. Heart Vessels. 1997; 12 (3):103-10.
12. Borel, Alescio-Lautier. Posture and cognition in the elderly: Interaction and contribution to the rehabilitation strategies. Neurophysiologie Clinique 2014: 44; 95-107.
13. พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2542. [เข้าถึงเมื่อ 20 เมษายน 2557]. เข้าถึงได้จากhttps://rirs3.royin.go.th/new-search/word-searchallx.asp.
14. Rubenstein, L. Z., Robbins, A. S., Josephson, K. R., Schulman, B. L., and Osterweil, D. The value of assessing falls in an elderly population. A randomized clinical trial. Annals of Internal Medicine 1990; 113(4): 308-16.
15. Piphatvanitcha N., Kespichayawattana J.,Aungsuroch Y. and &Magilvy J. K. State of science: Falls prevention program in community-dwelling elders. Thai Journal of Surgery 2007; 28: 90-97.
16. ลัดดา เถียมวงศ์, สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล และลักษณา ปัญญาชีวิน. การทดสอบประสิทธิภาพ
ของเครื่องมือประเมินความเสี่ยงของการเกิดหกล้ม (Thai FRAT) ของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน. วารสารพฤฒาวิทยา 2547; 5(2): 14524.
17. Rubenstein LZ. Falls in older people: epidemiology, risk factors and strategies forprevention. Age Ageing 2006; 35(2): 37-47.
18. Aekplakorn W. The report of Thailand population national health examination survey IV 2008-2009. Nonthaburi: The Graphico Systems; 2010.
19. Jitapunkul S, Songkhla MN, Chayovan N, et al. Falls and their associated factors: a national survey of the Thai elderly. J Med Assoc Thai 1998; 81: 233.
20. Hadjistavropoulos T, Delbaere K & Fitzgerald T.D. Reconceptualizing the role of fear of falling and balance confidence in fall risk. Ageing and Health 2010; 23(1): 3-23
21. แดนเนาวรัตน์ จามรจันทร์, จิตอนงค์ ก้าวกสิกรรม, สุจิตรา บุญหยง. โครงการ “การศึกษาเรื่องการทรงตัว และหกล้มในผู้สูงอายุไทย” [รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)]. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ; 2548.
22. Deshpande, N., Metter, E. J., Bandinelli, S., Lauretani, F., Windham, B. G., and Ferrucci, L. Psychological, physical and sensory correlates of fear of falling and consequentactivity restriction in the elderly: The InCHIANTI study. American Journal ofPhysical Medicine and Rehabilitation 2008; (87)5: 354-362.
23. Gillespie, S. M., and Friedman, S. M. Fear of falling in new long-term care enrollees.Journal of the American Medical Directors Association 2007; (8)5: 307-313.
24. Hellstrom, K., Vahlberg, B., Urell, C., and Emtner, M. Fear of falling, fall-relatedself-efficacy, anxiety and depression in individuals with chronic obstructive pulmonarydisease. Clinical Rehabilitation 2009; 23: 1136-44.
25. ประเสริฐ อัสสันตชัย. ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยน ครีเอชั่น; 2552.
26. เปรมกมล ขวนขวาย. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการหกล้มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2550.
27. พิมพ์วรินทร์ ลิ้มสุขสันต์. ปัจจัยทำนายการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ.[ วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์]. มหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2552.
28. Friedman, S. M., Munoz, B., West, S. K., Rubin, G., & Fried, L. P. Fall and fear of falling: Which come first. A longitudinal prediction model suggests for primary and secondary prevention. American Geriatrics Society 2002. 50.
29. บรรลุ ศิริพานิช. ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุไทย (พิมพ์ครั้งที่3) . กรุงเทพฯ: คบไฟ; 2543.
30. ประเสริฐ อัสสันตชัย. เอกสารประกอบการอบรมด้านผู้สูงอายและความชรา พ.ศ. 2544. สมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.
31. Limpawattana P, Sutra S, Thavompitak Y, Chindaprasirt J, Mairieng P. Geriatric hospitalizations due to fall-related injuries. J Med Assoc Thai 2012; 95(7): 235–39.
32. Suzuki, M., Ohyama, N., Yamada, K., and Kanamori, M. The relationship between fear of falling, activities of daily living and quality of life among elderly individuals. Nursing and Health Sciences 2002; 4: 155-61.
33. Sloane P, Blazer D, George LK. Dizziness in a community elderly population. J Am Geriatr Soc 1989; 31: 101–8.
34. Overstall PM, Exton-Smith AN, Imms FJ, Johnson AL. Falls in the elderly related to postural imbalance. BMJ 1977; 1: 261-4.