การศึกษาองค์ประกอบของระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร และระบบการผลิตแบบลีน ที่มีผลต่อประสิทธิภาพ การบริหารอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย

Main Article Content

สราวุธ แซ่ตั้ง

บทคัดย่อ

  บทความวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1)วิเคราะห์องค์ประกอบของแนวคิดและทฤษฎีของระบบการบริหารคุณภาพทั่ว ทั้งองค์กรและระบบการผลิตแบบลีน 2) ชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงและองค์ประกอบของระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรและระบบการผลิตแบบลีนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการบริหาร 3) นำเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) และจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า มีประเด็นสำคัญที่ควรทำการศึกษาและทดสอบ 9 ประเด็น ดังนี้ 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2.การมีส่วนร่วมของพนักงาน 3.การมุ่งเน้นลูกค้า 4.การให้ความรู้และการฝึกอบรม 5. การจัดการกระบวนการ 6.ข้อมูลและการวิเคราะห์ 7.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 8.การผลิตแบบดึง และ 9.ระบบการไหลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประเด็นเหล่านี้ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อประสิทธิภาพการบริหารอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย และจะนำกรอบแนวคิดนี้ ไปใช้ในขั้นตอนการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพนักงานของบริษัทผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทยในอนาคต เพื่อประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทยต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกียรติขจรโฆมานะสิน. (2550). LEAN: วิถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็นเลิศ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

ชิษณุพงศ์ทองพวง. (2556). องค์ประกอบการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การของมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย.(ดุษฎีนิพนธ์).มหาวิทยาลัยคริสเตียน. สาขาการจัดการภาครัฐและเอกชน.

ณัฏฐพันธ์เขจรพันธ์ และคณะ. (2545). TQM กลยุทธ์การสร้างองค์การคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ท.

ทิพวรรณหล่อสุวรรณรัตน์. (2546). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : บริษัท แซทโฟร์พริ้นติ้ง จำกัด.

ทิพาวดีเมฆสวรรค์. (2538). การส่งเสริมประสิทธิภาพในระบบราชการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานก.พ.

รยานันท์สิทธาทิพย์. (2553). การค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกันและเครือข่ายการผลิตศึกษากรณีอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนและส่วนประกอบ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต). คณะเศรษฐศาสตร์, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิฑูรย์สิมะโชคดี. (2542). TQM วิถีสู่องค์กรคุณภาพยุค 2000. กรุงเทพมหานคร : TPA Publishing.

วิทยาด่านธำรงกูล. (2546). การบริหาร. กรุงเทพมหานคร : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.

ศุภลักษณ์เศษธะพานิช. (2545). การนำเสนอรูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

สุกัญญาโฆวิไลกูล. (2547). การวิเคราะห์ระบบเพื่อการบริหารสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนันต์เตียวต๋อย. (2551). รูปแบบการบริหารคุณภาพเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ดุษฎีนิพนธ์). มหาวิทยาลัยศิลปากร. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.

อุทัยหิรัญโต. (2525). เทคนิคการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

Allen, J. Robinson, C. and Stewart D. (2001). Lean Manufacturing: A Plant Floor Guide. Michigan: Society of Manufacturing Engineers.

Besterfield, D.H. (2009). Quality Control (8th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Bou, J. C., & Beltran, I. (2007). Total Quality Management & Business commitment human resource strategy and firm performance : an empirical study Total Quality Management, High-commitment Human Resource Strategy and Firm Performance : An Empirical Study. Total Quality Management, (March 2012), 37-41.

Crosby, Philip. (1979). Quality is Free. New York: McGraw-Hill.

Demeter, Krisztina.,&Matyusz, Zsolt. (2011). The impact of lean practices on inventory turnover. International Journal of Production Economics, 133(1), 154-163. DOI:10.1016/j.ijpe.2009.10.031

Gunday, G., Ulusoy, G., Kilic, K., &Alpkan, L. (2011). Effects of innovation types on firm performance. International Journal of Production Economics, 133(2), 662-676.Elsevier.

Hofer, C., Eroglu, C., &Rossiter Hofer, A. (2012).The effect of lean production on financial performance: The mediating role of inventory leanness. International Journal of Production Economics, 1-12.

Jung, Joo Y., & Wang, Yong Jian.(2006). Relationship between total quality management (TQM) and continuous improvement of international project management (CIIPM).Technovation, 26(5), 716-722. DOI:10.1016/j.technovation.2006.01.003

Miyagawa, M., & Yoshida, K. (2010). TQM practices of Japanese-owned manufacturers in the USA and China. International Journal of Quality & Reliability Management, 27(7), 736-755.

Mojtahedzadeh, Rouhollah.,Arumugam, VeeriChettiar., Fallah, Ali. &Mehrizi, Ali AsgharHaeri. (2012). The relationship between lean manufacturing management and financial performance. 6th International Quality Conference.

Petersen, Elmore & Plowman, Grosvenor E. (1953). Business Organization and Management. Illinois: Irwin.

Shah, R., & Ward, P. T. (2003). Lean manufacturing : context , practice bundles and performance. Journal of Operations Management, 21, 129-149.

Spann, M. Adams, M. and Rahman, M. (1997). Transferring Lean Manufacturing to Small Manufacturers: The Role of NIST-MEP.University of Alabama in Huntsville.

Teeravaraprug, J., Kitiwanwong, K., &Saetong, N. (2011). Relationship model and supporting activities of JIT, TQM and TPM.Total Quality Management, 33(1), 101-106.

Womack, J.P., Jones., D.T., & Ross., D. (1990). The Machine that Changed the World. New York: Rawson Associates.

Yang, M. G. (Mark), Hong, P., &Modi, S. B. (2011). Impact of lean manufacturing and environmental management on businessperformance: An empirical study of manufacturing firms. International Journal of Production Economics, 129(2), 251-261.