การเตรียมความพร้อมกีฬามวยไทยสู่โอลิมปิก

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐณิชา ณ นคร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำสำคัญ:

ความพร้อม, กีฬามวยไทย, โอลิมปิก

บทคัดย่อ

“มวย” เป็นกิจกรรมการต่อสู้ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับมวลมนุษยชาติและได้พัฒนามาเป็นกีฬา ที่ยิ่งใหญ่ของโลกในปัจจุบัน กีฬามวยนอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ทรงคุณค่าในฐานะที่เป็นศิลปะ ป้องกันตัวแล้วยังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความสมบูรณ์ทางกายหรือ สมรรถภาพทางร่างกาย (Physical Fitness) ได้เป็นอย่างดี ที่สำคัญคือ กีฬามวยเป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลาย สนุกสนาน ตลอดจนปลูกฝังความมีน้ำใจนักกีฬาในหมู่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอีกด้วย “มวยไทย” เป็นกีฬา ที่ยิ่งใหญ่ซึ่งคนไทยรู้จักคุ้นเคยมานานในฐานะที่เป็นศิลปะการต่อสู้ และกีฬาประจำชาติไทย ส่วนชาวต่างประเทศที่เข้ามาในประเทศไทยได้มีโอกาสชมการชกมวยไทยต่างให้ความเห็นเป็นเสียง เดียวกันว่า มวยไทยมีวิธีการชกที่มหัศจรรย์ที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะมวยไทยเป็นทั้งศาสตร์และ ศิลป์ ที่เป็นศาสตร์เพราะเป็นวิชาการที่ต้องศึกษาหาความรู้ และที่เป็นศิลป์เพราะเต็มไปด้วยกลยุทธ์และชั้นเชิงมวย ตามแบบฉบับของคนไทยที่เรียกว่าครบเครื่อง คือสามารถใช้อวัยวะเกือบทุกส่วนของร่างกายที่เรียกว่า นวอาวุธ คือ หมัด 2 เท้า 2 เข่า 2 ศอก 2 และศีรษะ 1 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า และสมบูรณ์ที่สุด

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับที่ พ.ศ. 2555-2559 . การกีฬาแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

การกีฬาแห่งประเทศไทยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (2557). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงาน การพัฒนากีฬามวยไทยอาชีพ ระยะ 4 ปี, สำนักงานคณะกรรมการกีฬามวย ฝ่ายกีฬาอาชีพ และกีฬามวยการกีฬาแห่งประเทศไทย.

การกีฬาแห่งประทศไทย.(2558). คู่มือผู้ฝึกสอนมวยสากลสมัครเล่น.งานพัฒนาองค์ความรู้กองวิชาการกีฬาฝ่ายสารสนเทศและวิชาการกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.(2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 – 2559, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

กีฬา Sport ออนไลน์. (2559) "IOC" รับรอง "มวยไทย - เชียร์ลีดดิ้ง" ลุ้นจัดครั้งแรกปี 2024. สืบค้นวันที่ 1 มกราคม 2560 . https://www.pptvhd36.com/sport/news/41174

การกีฬาแห่งประเทศไทย.(2560) แผนยุทธศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. การกีฬาแห่งประเทศไทยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

ข่าวสด (2559). มวยไทย” เฮดังๆ ได้รับรองเข้าโอลิมปิคแล้ว กระตุ้นรัฐบาล-คนไทยช่วยกันผลักดันให้บรรจุแข่งขัน. วันที่ 7 ธันวาคม 2559 https://www.khaosod.co.th/sports/news_132287

คณะกรรมการการท่องเที่ยวและกีฬา.(2556) .การรณรงค์เพื่อผลักดันมวยไทยให้คณะกรรมการโอลิมปิกสากล.กระทรวงการการท่องเที่ยวและกีฬา.

จักรกฤษณ์ แสนพรหม (2556). ความจำเป็นของสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และ ผู้สูงอายุในพื้นที่ กรณีศึกษา สถานที่ท่องเที่ยวซึ่งเป็นพระธาตุบริวารของ พระธาตุ
พนม จังหวัดนครพนม. หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

จรวย แก่นวงษ์คำ.(2530).มวยไทยมวยสากล. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์.

พงษ์ชัย ชยวโส.(2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสนักงานบริหารงาน โครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมิภาค. วิทยานิพนธ์,ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิชามญชุ์ ศรีสุวรรณ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารการเงินกับพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของลูกค้าธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.สาขาวิชาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี .

พัชรมน รักษพลเดชและอนุพงษ์ แต้ศิลปะสาธิต. (2560) รูปแบบการจัดการธุรกิจมวยไทยอาชีพในประเทศไทย. วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ (10) 1 หน้า 1255-1269.

พรเทพ ฑีฆานนท์ (2555). การอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้มวยไทยด้วยเกม .วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มติชนออนไลน์ (2559). มวยไทย-เชียร์ลีดดิ้ง” และก้าวแรกสู่ฝัน”โอลิมปิกเกมส์. สืบค้นวันที่ 1 มกราคม 2560 https://www.matichon.co.th/news/404017

วัฒนา โคตรสมบัติ. (2558). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการค่ายมวยไทยอาชีพ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. (3)1 หน้า 67-88.

ศักดิ์ชาย ทัพสุวรรณ (2559). ชูแผนยุทธศาสตร์-ชง ‘บิ๊กตู่’ ดันมวยไทยแข่งโอลิมปิก มติชนออนไลน์ วันที่ 5 มกราคม 2560. http://www.matichon.co.th/news/395693.

สมศักดิ์ศิริ อนันต์. (2541). ศิลปะมวยไทยชั้นสูง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา

สมบัติ จําปาเงิน. (2533). กีฬามวยไทย. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น .

Chelladurai, P. (1985). Sport Management. Ontario: Sports Dynamics

Gary Dessler 1997. Human Resources Management. 7thed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice-Hall.

John H. Bernadin and Jonyce E.A.Russel. (1996). Human Resources Management: An Experiential Approach. Singapore: McGraw-Hall.

Locke, J.K. (2003). Strategic Management. 9th edition. New Jersey : Prentice Hall.

Vroom H Victor. (1990). Manage People, Not Personnel : Motivation and Performance Appraisal. Boston, U.S.A : Harvard Business School Publishing Division.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-19