ความหลากชนิดของหอยน้ำจืดฝาเดียวและการประยุกต์ใช้ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ ในแหล่งน้ำภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

วัชราภรณ์ ตันติพนาทิพย์

บทคัดย่อ

                    การศึกษาความหลากชนิดของหอยน้ำจืดฝาเดียวเพื่อประยุกต์ใช้ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ ในแหล่งน้ำภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ดำเนินการเก็บตัวอย่างหอยน้ำจืดฝาเดียว จากแหล่งน้ำทั้งสี่แหล่งด้วยวิธี Quadrate sampling โดยใช้แปลงสุ่มตัวอย่างขนาด 100 x 100 เซนติเมตร ในเดือนมีนาคมและเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 พบว่าปัจจัยทางกายภาพและเคมีของน้ำ ได้แก่ ค่าออกซิเจน ที่ละลายในน้ำ ค่าการนำไฟฟ้าและค่าของแข็งละลายน้ำทั้งหมดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ผลการศึกษาพบหอยน้ำจืดฝาเดียวทั้งสิ้น 758 ตัว จำแนกได้ 8 อันดับ 8 วงศ์ 14 ชนิด โดยหอยในวงศ์ Thiaridae และ Viviparidae เป็นกลุ่มหอยวงศ์เด่นในด้านจำนวนชนิดและพบหอยต่างถิ่น ชนิดรุกรานเพียงชนิดเดียว คือ หอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) ส่วนการแพร่กระจายของหอยน้ำจืดฝาเดียวพบว่าหอยขม (Filopaludina sumatrensis polygramma) มีการแพร่กระจายมากที่สุด รองลงมาคือ หอยเจดีย์ตุ่มเล็ก (Tarebia granifera) และหอยขม (Filopaludina martensi martensi) คิดเป็นร้อยละ 18.34, 15.44 และ 14.91 ของหอยน้ำจืดฝาเดียวที่พบทั้งหมด ตามลำดับ การประเมินคุณภาพน้ำอย่างเร็วด้วย หอยน้ำจืดฝาเดียวพบว่ามีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง


 


 


               The study on species diversity of freshwater gastropods and their application to monitoring water quality in reservoirs at Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University were investigated from 4 sampling sites using quadrate sampling (100 x 100 cm) in March and June 2017. Physical and chemical water quality such as dissolved oxygen, conductivity and total dissolved solids were significant difference between sampling sites (P<0.05). The results showed that a total numbers of freshwater gastropods were 758 individuals, 8 Orders, 8 Families and 14 species. Thiaridae and Viviparidae are the dominant family in quantity. One mollusk species is invasive alien species namely Pomacea canaliculata. The widest distribution genera was found on Filopaludina sumatrensis polygramma followed by Tarebia granifera and Filopaludina martensi martensi which were 18.34%, 15.44% and 14.91%, respectively. Rapid bioassessment using freshwater gastropods showed that water was classified as moderate quality in all sources of water.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

วัชราภรณ์ ตันติพนาทิพย์

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา    

References

ซุกรี หะยีสาแม. (2551). นิเวศวิทยาของปลา: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. หาดใหญ่: คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณัฐธิดา คลังกลาง และ เรวดี โรจนกนันท์. (2554). การใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน เพื่อเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำทางชีวภาพโดยการประยุกต์ใช้ Belgian Biotic Index (BBI) กรณีศึกษา ลำน้ำใกล้โรงงานผลิตน้ำมันปาล์มในอำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี. เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 12 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, (หน้า 765-773), วันที่ 28 มกราคม 2554.
พันทิพา มาลา และ อดิศร สุพรธรรม. (2553). ประวัติความเป็นมาของโบราณสถานในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. อยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา.
พงษ์พันธุ์ ลีฬหเกรียงไกร และ ทัตพร คุณประดิษฐ์. (2557). คุณภาพน้ำและความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและสัตว์หน้าดินในอ่างเก็บน้ำที่วิทยาเขตสะลวง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences (มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม). 15(1): 87-97.
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. (2560). แผนผังมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นจาก http://2014.aru.ac.th/index.php/2014-06-20-06-44-08/2014-10-29-02-53-17
มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์. (2551). คู่มือวิเคราะห์คุณภาพน้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 3, ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุจิรา จำปาปน, ชนวัฒน์ ตันติวรานุรักษ์ และ พงษ์รัตน์ ดำรงโรจน์วัฒนา. (2556). ความหลากชนิดของหอยน้ำจืด ในพื้นที่เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 18(2): 124-131.
สุชาติ ผึ่งฉิมพลี. (2550). ชนิดและการแพร่กระจายของหอยน้ำจืดในแม่น้ำป่าสักตอนล่าง. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
อิสระ ธานี. (2557). การใช้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินขนาดใหญ่เพื่อการติดตามตรวจสอบทางชีวภาพ. วิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. 7(1): 125-138.
American Public Association (APHA, AWWA, WEF). (2005). Standard methods for the examination of water and wastewater. (21st Ed.). Washington D.C.: American Public Health Association.
Brandt R. A. M. (1974). The non-marine aquatic Mollusca of Thailand. Archiv für Molluskenkunde. 105: 1-423.
Clarke K. R. and Warwick R. M. (1994). Chang in marine community: an approach to statistical analysis and interpretation. Plymouth Marine Laboratory. Plymouth, UK.
Dauvin J., Bellan G. and Bellan-Santini D. (2010). Benthic indicators: from subjectivity to objectivity-Where is the line?. Marine Pollution Bulletine. 60: 947-953.
Garg R. K., Rao R. J. and Saksena D. N. (2009). Correlation of Mollusca diversity with physicochemical characteristics of water of Ramsagar reservoir, India. Biodiversity and Conservation. 1(6): 202-207.
Greenberg A. E., Clesceri L. S. and Eaton A. D. (2005). Standard methods for the examination of water and wastewater (20th ed.). Washington DC: American Public Health Association (APHA).
Merritt R. W., Cummins K. W. and Berg M. B. (2008). An introduction to the aquatics of North America. Dubuque: Kendall/Hunt Publishing Company.
Merritt W. R., Cummins W. K. and Berg M. B. (2009). An introduction to the aquatic insects of North America (4th ed.). Iowa: Kendall/Hunt Publishing.
Morse J. C., Bae Y. J., Munkhjargal G., Sangpradub N., Tanida K., Vshivkova T. S., Wang B. X., Yang L. F. and Yule C. M. (2007). Freshwater biomonitoring with macroinvertebrates in East Asia. Frontiers in Ecology and the Environment. 5: 33-42.
Mustow S. E. (2002). Biological monitoring of river in Thailand; use and adaptation of the BMWP Score. Hydrobiologia. 479: 191-229.
Peerapornpisal Y., Chaubol C., Pekkoh J., Kraibut H., Chorum M., Wannathong P., Ngearnpat N., Jusakul K., Thammathiwat A., Chuanunta J. and Inthasotti T. (2004). Monitoring of water quality in Ang Kaew reservoir of Chiang Mai University using phytoplankton as bioindicater from 1995-2002. Chiang Mai Journal of Science. 31(1): 85-94.
Poomsripanon J. (2014). Freshwater mollusk as the bio-indicator of the natural freshwater reservoirs in Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Huntra campus. RMUTSB Academic Journal. 2(1): 9-22.
Sangpradub N. and Boonsoong B. (2006). Identification of freshwater invertebrate of the Mekong River and its Tributaries. Mekong River Commission, Vientiane
Strong E. E., Gargominy O., Ponder W. F. and Bouchet P. (2008). Global diversity of Gastropods (Gastropoda; Mollusca) in freshwater. Hydrobiologia. 595: 149-166.
Thorp J. H. and Rogers D. C. (2011). Filed guide to freshwater invertebrates of North America. Amterdam: Elsevier.